Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ยงกิตติกุล-
dc.contributor.authorจิราภรณ์ กุณสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-19T11:59:22Z-
dc.date.available2009-08-19T11:59:22Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743312862-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10315-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อสร้างสมการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานครด้วยตัวแปรด้าน การกำกับตนเองในการเรียน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ ทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 2. เพื่อหาตัวทำนายที่ดีที่สุดสำหรับทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2541 โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 397 คน ผู้วิจัยนำแบบวัดการกำกับตนเองในการเรียนคณิตศาสตร์ แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ แบบวัดทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ และแบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างประชากรแล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณและสร้างสมการถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สามารถทำนายได้จาก การกำกับตนเองในการเรียน (RGU) การรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ (SEF) และทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ (ATT) โดยมีตัวทำนายที่ดีที่สุด คือ การรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ (SEF) รองลงมาคือ ทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ (ATT) และการกำกับตนเองในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (RGU) ตามลำดับ ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานดังต่อไปนี้ Y' = .117SEF + .012ATT + .008RGU - 1.632 Z' = .492SEF + .197ATT + .162RGUen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: 1. To construct the prediction of multiple regression equation mathematics learning achievement with mathematics self-regulated learning, mathematics self-efficacy, attitude towards mathematics and achievement motive. 2. To extract the best predictors of the mathematics learning achievement. The samples comprised of 397 mathayom suksa three students in the academic year of 1998 drawn from public schools and private schools in Bangkok Metropolis. The research instruments were the questionnaires measuring the mathematics self-regulated learning, the mathematics self-efficacy, the attitude towards mathematics and the achievement motive. The obtained data were analyzed by means of Pearson product moment correlation coefficient, multiple correlation and stepwise multiple regression analysis. The results of the study indicated that: The mathematics learning achievement of mathayom suksa three students were predicted by mathematics self-regulated learning (RGU), mathematics self-efficacy (SEF), attitude towards mathematics (ATT). The best predictors were mathematics self-efficacy, attitude towards mathematics and mathematics self-regulated learning. The regression equations of raw score and standard score were as follows: Y' = .117SEF + .012ATT + .008RGU - 1.632 Z' = .492SEF + .197ATT + .162RGU.en
dc.format.extent1121507 bytes-
dc.format.extent868626 bytes-
dc.format.extent2105838 bytes-
dc.format.extent1373831 bytes-
dc.format.extent809181 bytes-
dc.format.extent1085849 bytes-
dc.format.extent1621886 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectการกำกับตนเองในการเรียนen
dc.subjectความสามารถในตนเองen
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์en
dc.titleการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยตัวแปรด้านการกำกับตนเองในการเรียน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ ทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativePrediction of mathematics learning achievement with self-regulated learning, mathematics self-efficacy, attitude towards mathematics and achievement motive of mathayom suksa three students in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jiraporn_Ku_front.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Jiraporn_Ku_ch1.pdf848.27 kBAdobe PDFView/Open
Jiraporn_Ku_ch2.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
Jiraporn_Ku_ch3.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Jiraporn_Ku_ch4.pdf790.22 kBAdobe PDFView/Open
Jiraporn_Ku_ch5.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Jiraporn_Ku_back.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.