Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10582
Title: | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอ ในโครงการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในเขตเมือง จังหวัดหนองคาย |
Other Titles: | Factors affecting participation in polio immunization campaign of the people in urban areas, Nongkhai province |
Authors: | อุไรศรี อะสันตารี |
Advisors: | ปรมะ สตะเวทิน |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | การเปิดรับข่าวสาร โปลิโอ -- การป้องกัน การยอมรับนวัตกรรม โครงการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ การสื่อสาร |
Issue Date: | 2541 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอในโครงการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ในเขตเมือง จังหวัดหนองคาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยมีทั้งสิ้น 437 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ตารางแจกแจงความถี่แสดงจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ หาความแตกต่างของค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ซึ่งประมวลผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า 1. อายุ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกันจะมีพฤติกรรมการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอต่างกัน 2. คุณลักษณะทางนวกรรมของวัคซีนโปลิโอมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอ 3. พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอ 4. พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารอธิบายพฤติกรรมการนำเด็กไปรับวัคซีนโปลิโอได้มากกว่าลักษณะทางประชากร และคุณลักษณะทางนวกรรมของวัคซีนโปลิโอ |
Other Abstract: | The purposes of this research were to study media exposure, participation in polio immunization campaign factors affecting participation in polio immunization campaign of the people in urban areas, Nongkhai province. Questionnaires were used to collect the data from a total of 437 samples. Frequency, percentage, mean, t-test, one-way ANOVA, Pearson's product moment correlation coefficient and multiple regression analysis were employed for the analysis of the data. SPSS program was used for data processing. The results of this study were as follows: 1. Difference in age and education was different in polio immunization campaign participation. 2. Innovative attributes of polio vaccination correlated with participation in polio immunization campaign. 3. Media exposure positively correlated with polio immunization campaign participation. 4. Media exposure could explain participation in polio immunization campaign better than demographic characteristics and innovative attributes of polio vaccination. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 |
Degree Name: | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิเทศศาสตรพัฒนาการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10582 |
ISBN: | 9743319832 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Uraisri_As_front.pdf | 785.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uraisri_As_ch1.pdf | 738.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uraisri_As_ch2.pdf | 872.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uraisri_As_ch3.pdf | 782.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uraisri_As_ch4.pdf | 902.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uraisri_As_ch5.pdf | 772.87 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uraisri_As_back.pdf | 989.87 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.