Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วชิราพร อัจฉริยโกศล | - |
dc.contributor.advisor | เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์ | - |
dc.contributor.author | เนตร หงษ์ไกรเลิศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-09-02T07:53:59Z | - |
dc.date.available | 2009-09-02T07:53:59Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741727038 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10953 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาผลของการควบคุมบทเรียนในการเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีสมาธิสั้น และมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่งระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 การควบคุมบทเรยนในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ ได้แก่แบบที่ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมบทเรียน แบบโปรแกรมควบคุมบทเรียน และการควบคุมบทเรียนแบบผสมผสานระหว่างผู้เรียนและโปรแกรม รูปแบบของการวิจัยเป็นแบบ Pretest-Posttest Control Group Design กลุ่มตัวอย่างได้จากนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการระบุลักษณะของนักเรียนเป็นเด็กสมาธิสั้น และมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง ด้วยแบบสังเกตพฤติกรรมและแบบวัดสมาธิต่อเนื่อง ที่แปลและเรียบเรียงโดยแพทย์หญิงฐิตวี แก้วพรสวรรค์ และจากการสุ่มเลือก จำนวน 120 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่างเข้ารับการทดลองใน 3 กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม 1 กลุ่มๆ ละ 30 คน ด้วยวิธีการสุ่มเครื่องมือการวิจัย ที่เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม 3 แบบ และแบบผู้ช่วยสอน มีประสิทธิภาพที่ 85/85 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความเที่ยง 0.88 และความเชื่อมั่นที่ 0.93 ข้อมูลที่รวบรวมได้นำไปวิเคราะห์ ด้วยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียน ของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 4 กลุ่ม ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเรียนพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en |
dc.description.abstractalternative | To develop the computer assisted instruction (CAI) lesson-game upon mathematics achievement and retention of attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) learners in prathom suksa two. The subjects were selected by using a 2-step selection. First, 4,572 students from 17 Bangkok Metropolitan Administrative schools were observed and analyzed as students with ADHD by their teachers using Brief Conners' Teacher Rating Scale translated by Associate Professor Dr. Titawee Kaewpornsawan. Second, 376 students from the first step were confirmed by using Computerized Continuous Performance Test. Finally, 120 ADHD students were randomly assigned into four groups. The first goup with 30 ADHD students was the control group using the tutorial CAI. The other 3 groups of ADHD students were the experimental group using learner control, program control, and combination control in CAI lesson-game. One-Way ANOVA was used for statistical analysis. The major findings are as follows: 1. The effectiveness of tutorial CAI and 3 computer assisted instruction lesson-games was higher than criteria. 2. There was no statistical significant difference on achievement and retention among the control and the 3 experimental groups. 3. There was a statistical significant difference on time usage among the 4 groups at .05 level. | en |
dc.format.extent | 3180239 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.785 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | en |
dc.subject | เด็กสมาธิสั้น | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | en |
dc.title | ผลของการควบคุมบทเรียนในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกม ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนที่มีสมาธิสั้นและมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 | en |
dc.title.alternative | Effects of lesson control in computer assisted instruction lesson-game mathematics achievement and retention of attention deficit hyperactivity disorder learners in prathom suksa two | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.785 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.