Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11133
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบรรเจิด พละการ-
dc.contributor.authorบารมินทร์ เจริญพานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-11T05:02:08Z-
dc.date.available2009-09-11T05:02:08Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741721781-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11133-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractจากการที่กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวง ที่มีการเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว และเป็นศูนย์กลางในหลายด้านเช่น ด้านการขนส่ง การศึกษา เศรษฐกิจ ฯลฯ ส่งผลให้มีการขยายตัวของจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างมาก จนทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัด ดังนั้น ภาครัฐจึงได้กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวขึ้น โดยก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน ในโครงการรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล ภายใต้การกำกับดูแลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งในการก่อสร้างของโครงการดังกล่าว โดยเฉพาะการก่อสร้างอุโมงค์เพื่อเป็นเส้นทางการวิ่งนั้น จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีทางด้านการสำรวจที่ทันสมัยมาใช้ และใช้ความรู้ ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์ในการทำงาน ซึ่งนับว่าเป็นประสบการณ์ใหม่สำหรับวิศวกรสำรวจในประเทศไทย ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยเกิดความสนใจที่จะศึกษา รวบรวมข้อมูลวิธีการทำงานสำรวจ รวมถึงการเปรียบเทียบความเหมาะสมของวิธีการควบคุมทิศทาง ในการขุดเจาะอุโมงค์โดยใช้งานสำรวจ โดยในการศึกษาได้แบ่งวิธีการสำรวจออกเป็น 2 วิธี คือ วิธี Laser Theodolite and Target Unit และวิธี Robotec Survey System เพื่อเปรียบเทียบว่าวิธีใด ให้ค่าความถูกต้องทางตำแหน่งที่เหมาะสมกว่ากัน จากการทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มข้อมูล (Compare Mean) และค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร (One Sample Test) พบว่าการทำงานสำรวจโดยวิธี Robotec Survey System เป็นวิธีที่มีความเหมาะสมกับการทำงานสำรวจ เพื่อการขุดเจาะอุโมงค์สำหรับรถไฟฟ้าใต้ดิน นอกจากนี้งานวิจัยได้นำเสนอผลการทดสอบทางสถิติ บนพื้นฐานโครงสร้างข้อมูล โดยมีลักษณะการนำเสนอในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ซึ่งเป็นการแทนข้อมูลภูมิศาสตร์ด้วยข้อมูลสถิติ ที่ได้จากการวิจัยเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ต่อไปในอนาคตen
dc.description.abstractalternativeBangkok is one of the biggest cities that are centers for transportation, education, economy, etc. The growth of Bangkok brings expansion of the city intensity of population and consequencially traffic congestion. One of the governmental solutions is construction of MRT Chaleom Ratchamongkhon Line that is under Mass Rapid Transit Authority of Thailand (MRTA). New-technique survey method was adopted in the construction. Tunneling in the first underground line that was counted to be the newest technology in Thailand requires accurate techniques, knowledge, ability, resolution and experience. It is worth for Thai survey engineers. Researcher has inspiration of studying the methods in tunneling survey by comparing the accuracy of each method. There are two methods Robotec Survey System and Laser Theodolite and Target Unit adopted in the project. According the study, the statistics results show that Robotec Survey System is more appropriate than Laser Theodolite and Target Unit to be used in tunneling. The results will be reported through GIS application, Arc View by replacing geographic information with statistics results from the study.en
dc.format.extent8625076 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโครงการรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคลen
dc.subjectอุโมงค์รถไฟฟ้าใต้ดินen
dc.titleการศึกษาและเปรียบเทียบความถูกต้องทางตำแหน่ง ในการทำงานสำรวจการก่อสร้างอุโมงค์ เพื่อจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลen
dc.title.alternativeThe study and comparison of the accurate position in tunnel surveying construction for making Geographic Information System in M.R.T. Chaloem Ratchamongkhon Line Projecten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Baramin.pdf8.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.