Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11567
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัย พงศ์พันธุ์ภาณี | - |
dc.contributor.author | พงษ์เทพ พรหมศิริ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-10-26T03:33:36Z | - |
dc.date.available | 2009-10-26T03:33:36Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741797478 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11567 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | การกระตุกของเสียงเป็นตัวบอกถึงคุณภาพของเสียง ซึ่งมีผลมาจากปริมาณการสูญหายของเฟรมเสียงที่ส่งผ่านบนเครือข่ายเฟรมรีเลย์ การกระตุกของเสียงนั้นเกิดจาก การที่เฟรมเสียงเดินทางไปถึงอุปกรณ์ปลายทางล่าช้ากว่าเวลาที่กำหนด ซึ่งมีผลมาจากเฟรมข้อมูลที่ส่งร่วมอยู่ในช่องสัญญาณเดียวกับเฟรมเสียงนั้น มีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับความเร็วในการส่ง การลดอัตราการกระตุกของเสียงทำได้โดยการลดขนาดของเฟรมข้อมูลให้เล็กลง แต่จะทำให้ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลลดลงด้วย อีกวิธีคือการหน่วงเวลาในการแปลงกลับเป็นเสียง ซึ่งมีอัลกอลิทึ่มที่ใช้กำหนดเวลาหน่วงอยู่สองแบบคือ แบบที่ใช้ช่วงเวลาหน่วงแบบคงที่ และแบบที่มีช่วงเวลาหน่วงแปรผัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ผู้วิจัยได้ใช้เครือข่ายระยะไกล ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เป็นกรณีศึกษา และสร้างโปรแกรมจำลองการทำงานของเครือข่ายเฟรมรีเลย์ของ ธ.ก.ส. เพื่อวิเคราะห์หาค่าความหน่วงในการกำหนดเวลาแบบคงที่ และทดลองขนาดของเฟรมข้อมูลที่เหมาะสม จากการทดลองพบว่าค่าความหน่วงที่เหมาะสมคือ 71 มิลลิวินาที และค่าขนาดเฉลี่ยของเฟรมข้อมูลที่เหมาะสมคือ 198 ไบต์ หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมจำลองที่มีการหน่วงเวลาแบบแปรผัน เพื่อทดสอบเปรียบเทียบคุณภาพของเสียงกับการทดลองที่มีการหน่วงเวลาแบบคงที่ จากการทดลองพบว่า การหน่วงเวลาแบบแปรผันจะให้อัตราการสูญหายของเฟรมน้อยกว่าการหน่วงเวลาแบบคง ที่ 2% สุดท้ายนี้ผู้วิจัยได้ทดลองส่งข้อมูลและเสียงผ่านเครือข่ายจริง เพื่อวัดคุณภาพของเสียงโดยใช้มาตรฐานการทดสอบ ITU P.800 (Mean opinion score) พบว่าขนาดของเฟรมข้อมูลเฉลี่ยที่ได้คะแนนการทดสอบ อยู่ในช่วงดีเหมาะสมสำหรับเครือข่ายของ ธ.ก.ส. เท่ากับ 198 ไบต์ ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองที่ใช้โปรแกรมจำลอง | en |
dc.description.abstractalternative | Jitter is one of some key indicators showing the degrading quality of voice transmission over frame-relay network. The rates of voice frames being lost over the frame-relay network transmission directly impact the performance of the quality of voice transmission. Over-size data frames, which shared the same channel with voice frames, have been identified as the cause of jitter. Generally, decreasing the rate of Jitter can be achieved by reducing the frame-size of data frames being transmitted. Unfortunately, by utilizing this method the performance of data transmission are degrade as well. Another method is devised by the adoption of an extra delay at the decoder inorder to compensate the irregular arrival of voice frames. Two major algorithms had been adopted which are fixed buildout delay and adaptive buildout delay ones. In this thesis the author used the wide area network of The Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives (BAAC) as a case study model. A simulation model was required developed to analyze the maximum average data frame size and the minimum buildout delay for the fixed delay algorithm. The minimum buildout delay was 71 ms and the maximum average data frame size was 198 bytes. Next the rate of frame loss was measured as the quality of voice service (QoS) for the adaptive buildout algorithm. The adaptive buildout delay algorithm gave better QoS with 2% lower loss rate. Lastly, the author performs a voice quality subjective test by transmitting voice and data frames over BAAC network. By voice ITU P.800 testing procedure the maximum average data frame size provided good voice quality is 198 bytes which is in agreement with the objective test. | en |
dc.format.extent | 1285839 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร | en |
dc.subject | เฟรมรีเลย์ (การสื่อสารข้อมูล) | en |
dc.subject | เครือข่ายระยะไกล | en |
dc.title | การวิเคราะห์และทดสอบคุณภาพการให้บริการเสียงบนเฟรมรีเลย์ ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร | en |
dc.title.alternative | An analysis and testing of the service quality of voice over frame relay of Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pongthep.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.