Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัจฉรา วงศ์โสธร-
dc.contributor.authorเสาวภา จึงพัฒนาพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-11-19T05:24:31Z-
dc.date.available2009-11-19T05:24:31Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11695-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องทักษะในการเรียนของนักศึกษาไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. สร้างและปรับปรุงแบบทดสอบวัดทักษะในการเรียนเพื่อใช้กับนักศึกษาไทยในระดับอุดมศึกษา 2. ศึกษาความสัมพันธ์ของทักษะในการเรียนประเภทต่างๆ กับคะแนนเฉลี่ยสะสม ซึ่งเป็นผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาต่าง ๆ 3. ศึกษาอำนาจของการทำนายผลสัมฤทธิ์ในการเรียน โดยใช้ทักษะในการเรียนเป็นตัวทำนาย 4. ศึกษาเปรียบเทียบทักษะในการเรียนของนักศึกษาที่อยู่ในสถาบันการศึกษา ซึ่งอยู่ในภาคต่าง ๆ ว่า มีระดับทักษะแตกต่างกันหรือไม่ 5. ศึกษาเปรียบเทียบทักษะในการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนวิชาเอกภาษา อังกฤษ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ดนตรี และอนุบาล ว่าจะแตกต่างกันหรือไม่ 6. ศึกษาเปรียบเทียบคะแนนบรรทัดฐานของทักษะในการเรียน ของนักศึกษาไทยและนักศึกษาอเมริกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตปีที่ 1 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักศึกษาปีที่ 1 ของวิทยาลัยครู 4 แห่ง ในภาคต่างๆ จำนวนรวมทั้งสิ้น 511 คน การเก็บข้อมูลทำในภาคต้นของปีการศึกษา 2524 ผลของการวิเคราะห์ พบว่า 1. คะแนนบรรทัดฐานของการทำแบบทดสอบทักษะในการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ในแต่ละสถาบันการศึกษาต่างกัน โดยมีลำดับที่เปอร์เซ็นไตล์ 99 เป็นคะแนน 46-57 และลำดับเปอร์เซ็นไตล์ที่ 1 เป็นคะแนน 4 – 12 ซึ่งเป็นช่วงที่ต่างกัน 9-12 คะแนน 2.คะแนนบรรทัดฐานของการทำแบบทดสอบทักษะในการเรียนของนักศึกษาไทย ในการวิจัยต่างกับคะแนนบรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิงในสหรัฐอเมริกา โดยมีคะแนนดิบของคะแนนมาตรฐานที่ 99 เปอร์เซ็นไตล์ และที่ 1 เปอร์เซ็นไตล์ ต่ำกว่าประมาณ 5-8 คะแนน 3. นักศึกษาที่มาจากสถาบันต่างกัน มีคะแนนทักษะในการเรียนต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (F = 4.653, df = 4,497 , P = .001) โดย เฉพาะอย่างยิ่ง นักศึกษาที่มาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจากวิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา พบว่าต่างกันบ่อยครั้งที่สุด 4. นักศึกษาที่เรียนวิชาเอกต่างกัน จะมีคะแนนทักษะในการเรียนต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (F = 6.546, df = 4,370 , P = .000) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์ จะเป็นกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยต่างกับกลุ่มนักศึกษาวิชาเอกอนุบาลและดนตรี บ่อยครั้งที่สุด และนักศึกษาวิชาเอกคณิตศาสตร์ มีคะแนนทักษะในการเรียนสูงที่สุด รองลงมาคือ นักศึกษาวิชาเอกอังกฤษ ไทย ดนตรี และอนุบาล ตามลำดับ 5. คะแนนทักษะในการเรียนของนักศึกษา มีความสัมพันธ์กับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) ซึ่งเป็นดรรชนีของผลสัมฤทธิ์ในการเรียน โดยสามารถใช้ (R = .163, F = 3.568 , df = 5,481 , P = .001) และมีส่วนร่วมในความแปรปรวน 3 เปอร์เซ็นต์ (R[superscript2] = .027)en
dc.description.abstractalternativeThe research on the study skills of Thai students has the following objectives:- 1. To develop a study skills test for Thai students in higher education. 2. To study the relationships between various components of study skills and GPA, an index of student learning achievement. 3. To study the predictive power of study skills on student achievement. 4. To compare the study skills of students in institutes located in various regions of the country. 5. To compare the study skills of students majoring in English, Thai, mathematics, music and kindergarten. 6. To compare study skills scores of the norm groups compos of Thai students with the norm groups of American students. Subjects were 501 first-year students from Chulalongkorn University and four other teachers’ training colleges. Data collection was performed during the first semester of academic year B.E. 2524. The findings are as follows:- 1. Raw scores representing percentile ranks of students from various institutes varied having the 99[superscriptth] percentile the raw scores from 46-57 and the 1[superscriptst] percentile from 4-12, the difference of 9-12 points. 2. Raw scores representing the 99[superscriptth] percentile and the 1[superscriptst] percentile of Thai students in the study were 5-8 points below those of the norm groups in the U.S. 3. The study skills scores of students from different institutes were significantly different (F = 4.653, df = 4,497, P = .001); particularly students from Chulalongkorn University and Chachoengsao Teachers’ College were discovered to differ from each other in most analyses. 4. The study skills scores of students having different subject majors were significantly different (F = 6.546, df = 4,370, P = .000); particularly the English majors and math majors’ mean scores differed from those of the kindergarten and music majors in most analyses. The math majors also had the highest study skills scores, ranking behind were the English, Thai, music and kindergarten majors respectively. 5. The subjects’ study skills scores were related to GPA, an index of student learning achievement (R = .163, F = 3.568, df = 5,481, P = .001) and shared the GPA’s variance by 3 per cent (R[superscript2] = .027).en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยรัชดาภิเษกสมโภชen
dc.format.extent8928935 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนen
dc.subjectนักศึกษา -- ไทยen
dc.titleทักษะในการเรียนของนักศึกษาไทย : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeThe Study skills of Thai studentsen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.author[email protected]-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Lang - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Archara_Skill.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.