Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.authorชัชวาล ศรีสละ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-12-08T03:39:13Z-
dc.date.available2009-12-08T03:39:13Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745641464-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11743-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ของตำแหน่งคำถามกับรูปแบบการ คิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง อำเภอพระโขนง กรุงเทพฯ จำนวน 375 คน จำแนกรูปแบบการคิด เป็นกลุ่มฟิลด์ ดิเพนเดนท์ (เอฟดี) 125 คน กลุ่มฟิลด์ อินดิเพนเดนท์ (เอฟไอ) 125 คน และกลุ่มกลาง (เอ็มดี) 125 คน โดยใช้แบบทดสอบ เดอะกรุป เอมเบดเดด ฟิกเกอร์เทสท์ (The group embeded figure test) ตัวอย่างประชากรทั้งสามกลุ่มนี้นำมาสุ่มตัวอย่างแบบแยกกลุ่มจำนวน 5 กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มเอฟดี 25 คน กลุ่มเอฟไอ 25 คน และกลุ่มกลาง 25 คน แต่ละกลุ่มทดลองเรียนโปรแกรมสไลด์เทป โดยมีออร์แกนไนเซอร์ แบบคำถามเชิงอัตนัย เป็นสไลด์คำถามที่ตำแหน่งต่างๆ กันในบทเรียนดังนี้ คือ คำถามสอดแทรกก่อนหน่วยบทเรียนและตอน คำถามสอดแทรกท้ายหน่วยบทเรียนแต่ละตอน คำถามกลุ่มคำถามนำหน้าข้างหน้าทั้งหมด คำถามกลุ่มคำถามต่อท้ายบทเรียนทั้งหมด และไม่มีคำถาม โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางที่ระดับนัยสำคัญ .05 และการทดสอบความแตกต่างระหว่างคู่โดยใช้แบบทดสอบสติวเดนท์ นิวแมน คีล (s= Student Newman Keul tests) การวิจัยสรุปผลได้ดังนี้ คือ 1. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ของตำแหน่งคำถามกับรูปแบบการคิดแบบเอฟดี แบบเอฟไอ และกลุ่มกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ตำแหน่งต่างๆ ของคำถามไม่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของกลุ่มทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. กลุ่มทดลองเอฟดี เอฟไอ และกลุ่มกลางที่ได้รับคำถามเชิงอัตนัยที่ตำแหน่งคำถามกลุ่มคำถามต่อท้ายบท เรียนทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ดีกว่ากลุ่มทดลองเอฟดี เอฟไอ และกลุ่มกลาง ที่เรียนโดยไม่มีคำถามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study the interaction of question locations and cognitive styles on the cognitive learning achievement of mathayom suksa one students. The subjects were three hundreds and seventy-five mathayom suksa one students of Wat Tarthong School, divided into field dependence, field independence and middle groups by the Group Embedded Figure Test. Reports the result that there were no interaction of question locations and cognitive styles on the cognitive learning achievement at the 0.5 level of confidence, each location of questions had no effect on the cognitive learning achievement of subject groups at the o.05 level of confidence and the subjects of all three groups of cognitive styles who learnt from the post-questioning showed highed achievement than those who learnt with no questioning at the 0.05 level of confidence.en
dc.format.extent9501270 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความคิดและการคิดen
dc.subjectการตั้งคำถามen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.titleปฏิสัมพันธ์ของตำแหน่งคำถามกับรูปแบบการคิด ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeAn interaction of question locations and cognitive styles on the cognitive learning achievement of mathayom suksa one studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutchaval.pdf9.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.