Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรนุชา อัฏฏะวัชระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะึครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-01-06T04:40:43Z-
dc.date.available2010-01-06T04:40:43Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11921-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยและพัฒนาสื่อการสอนสำหรับครูสอนนาฏศิลป์ ระดับประถมศึกษา ประชากรในการศึกษาคือ นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ปีการศึกษา 2551 และครูสอนนาฏศิลป์ระดับประถมศึกษา ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 29 คน และตัวแทนของครูสอนนาฏศิลป์ทั่วประเทศที่เข้ารับการอบรม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ บทเพลงนาฏศิลป์ ชุดที่ 2 แบบสอบทักษะนาฏศิลป์ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสื่อประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ด้านเนื้อเพลงและทำนองเพลง แบบสอบถามประสิทธิภาพของสื่อ ประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ ด้านเนื้อเพลงและทำนองเพลงของครูสอนนาฏศิลป์ แบบสอบถามความพึงพอใจของครูที่เข้าอบรม ที่มีต่อสื่อประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ ด้านนื้อเพลงและทำนองเพลง การวิเคราะห์ข้อมูลหาความเที่ยงชนิดความสอดคล้องภายในของ แต่ละหมวดโดยหาสัมประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค (α cronbach coefficient) หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (X, SD) ของประสิทธิภาพของสื่อและความพึงพอใจ ตามความเห็นของครูสอนนาฏศิลป์ ผลของการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์ลักษณะของสื่อประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ด้านเนื้อเพลง และทำนองเพลง แก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ 87.55/86.75 และนักเรียน ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเนื้อหาของบทเพลงนาฏศิลป์ 2. การพัฒนาสื่อประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ด้านเนื้อเพลงและทำนองเพลง ที่บูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระวิชา ปรากฏว่าครูที่สอนนาฏศิลป์ ระดับ ประถมศึกษา มีความพึงพอใจมาก ต่อสื่อประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ด้านเนื้อเพลงและ ทำนองเพลง 3. ประสิทธิภาพของสื่อประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ด้านเนื้อเพลงและ ทำนองเพลงตามความเห็นของครูสอนนาฏศิลป์ ระดับประถมศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to conduct research and develop instructional media for Thai dramatic arts teachers of elementary schools. The populations of this study were the students of Chulalongkorn University Demonstration Elementary School in academic year B.E. 2551, and Thai dramatic arts teachers of elementary schools. The research samples comprised of 29 Prathom 4 (Grade4) students, and 400 Thai dramatic arts teachers of elementary schools nationwide who attended the training of the instructional media trained by researcher herself. The research instruments were : (1) Thai songs (Batch # 2) which composed by the researcher herself, (2) the students’ evaluation forms of their dramatic arts skills, (3) students’ questionnaires to assess their satisfactions towards the lyrics and melodies, (4) teachers’ questionnaires to assess their opinions of the efficiency of the instructional media (the lyrics and melodies), and (5) teachers’ questionnaires to assess their satisfactions towards the instructional media. The data were analyzed by arithmetic mean (x), and standard deviation (S.D.). Moreover, the Cronbach’ Alpha Coefficient was employed to check the internal consistency reliability of the evaluation. The results of this research were as follow: 1. The instructional media of Thai dramatic arts for Prathom 4 students (the lyrics and melodies) had an average efficiency of 87.55/86.75 which was higher than the hypothetical criterion of 80/80. Most students were satisfied with the songs. 2. Concerning the songs used as the instructional media which were integrated with the contents of other subjects, the Thai dramatic arts teachers of the elementary schools were satisfied with these songs at high level. 3. The teachers’ opinions towards the efficiency of the instructional media (the lyrics and melodies) were at the highest level.en
dc.description.sponsorshipเงินทุนเพื่อการวิจัยกองทุนคณะครุศาสตร์ พ.ศ. 2551en
dc.format.extent1243855 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครูนาฏศิลป์en
dc.subjectนาฏศิลป์ไทย -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectสื่อการสอนen
dc.titleการวิจัยและพัฒนาสื่อการสอนสำหรับครูสอนนาฏศิลป์ ระดับประถมศึกษา : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeA Research and development of instructional media for fine arts praticing teacher's training program at primary education levelen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Onnucha_Media.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.