Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1195
Title: การออกแบบและสร้างตัวทริกเกอร์ของเครื่องกำเนิดแรงดันอิมพัลส์
Other Titles: Design and construction of an impulse triggering unit
Authors: ชาญณรงค์ น้อยบางยาง, 2515-
Advisors: คมสัน เพ็ชรรักษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: แรงดันอิมพัลส์
เครื่องกำเนิดแรงดันอิมพัลส์
วงจรทริกเกอร์
Issue Date: 2544
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เสนอการออกแบบและสร้างตัวทริกเกอร์ของเครื่องกำเนิดแรงดันอิมพัลส์ โดยใช้สายไฟเบอร์ออปติกเป็นสายส่งสัญญาณควบคุม ไกสวิตช์จะเป็นตัวเริ่มให้เกิดการสปาร์กในแกปช่วย เพื่อให้ค่าแรงดันที่ป้อนเข้าไปที่วัสดุทดสอบนั้นมีค่าเกือบคงที่ ทำให้การกระจัดกระจายของแรงดันที่จ่ายออกน้อยลง ตัวทริกเกอร์ที่ประกอบสร้างนี้จะอยู่ในสเฟียร์ของแกปช่วย และทำงานด้วยแหล่งจ่ายไฟจากแบตเตอรี่ 9 โวลท์ ทำให้เกิดการสปาร์กระหว่างหัวเทียนกับผิวของสเฟียร์ด้วยแรงดันประมาณ 15 กิโลโวลท์ การประกอบสร้างนี้จะใช้เงินลงทุนน้อย แต่สามารถทำให้เกิดการสปาร์กได้เช่นเดียวกับของที่ซื้อมาจากต่างประเทศ
Other Abstract: Presents the design and construction of a triggering unit of an impulse voltage generator. It's operation is controlled by using fiber optic wire. The trigger initiates a spark in the auxiliary gap which lead to a nearly constant voltage output at the test object. Thus, the dispersion of output voltage is less. This Trigger is constructed within the sphere of auxiliary gap and operated by using 9 volt battery. It's make a small sparking between sparkplug and sphere surface at a voltage of about 15 kV. This construction has low cost but can be operated like an imported trigger instrument.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1195
ISBN: 9740305873
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Channarong.pdf965.96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.