Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12088
Title: | การพัฒนากรรมวิธีการจองช่องสัญญาณแบบใหม่ สำหรับระบบสื่อสารไร้สาย : รายงานผลการวิจัย |
Other Titles: | Development of a new channel reservation technique for wireless communication |
Authors: | ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ |
Email: | [email protected] |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Subjects: | ระบบสื่อสารไร้สาย -- การควบคุมการเข้าถึง โปรโตคอลควบคุมการเข้าถึงตัวกลาง |
Issue Date: | 2545 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | รายงานผลวิจัยเป็นการนำเสนอการพัฒนาเทคนิคการจองช่องสัญญาณแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมสำหรับระบบสื่อสารที่มีเวลาประวิงสัมพัทธ์ยาว ซึ่งเป็นสภาวะที่ผู้ใช้บริการมีโอกาสในการเข้าจองช่องสัญญาณได้เพียงหนึ่งครั้งต่อเฟรม โดยเทคนิคที่นำเสนอสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามความสามารถในการทำงานของระบบ ได้แก่ เทคนิคการจองช่องสัญญาณที่ไม่มีการกำหนดลำดับความสำคัญในการเข้าจองช่องสัญญาณและเทคนิคการจองที่สามารถกำหนดลำดับความสำคัญในการเข้าจองช่องสัญญาณให้กับผู้ใช้บริการ สำหรับเทคนิคการจองช่องสัญญาณประเภทแรกประกอบด้วย วิธี Cascade Fixed Probability (CFP), Uniform (UNI) และ Uniform + Limited Access (UNI+LA) ส่วนเทคนิคการจองในประเภทหลัง ได้แก่ Uniform + Divided Slot (UNI+DS) Uniform + Multiple Limited Access (UNI+MLA), Uniform + Divided Slot + Multiple Limited Access (UNI+DS+MLA) และ Partial Uniform + Multiple Limited Access (Partial UNI+MLA) จากผลการประเมินสมรรถนะของเทคนิคที่พัฒนาขึ้นโดยอาศัยการวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ พบว่าวิธีการต่างๆ เหล่านี้มีสมรรถนะที่สูงกว่าเทคนิคที่นำเสนอในอดีตทั้งในเรื่องของค่าวิสัยสามารถและการรับประกันคุณภาพของการให้บริการ |
Other Abstract: | The research report presents a development of new channel reservation techniques that are effective and suitable for relatively long propagation delay. These techniques can be classified into two categories according to the capability of the system, namely channel reservation techniques with and without priority. The first channel reservation category consists of Cascade Fixed Probability (CFP), Uniform (UNI) and Uniform + Limited Access (UNI+LA) techniques. Whereas the latter category of channel reservation is composed of Uniform + Divided Slot (UNI+DS) Uniform + Multiple Limited Access (UNI+MLA), Uniform + Divided Slot + Multiple Limited Access (UNI+DS+MLA) and Partial Uniform + Multiple Limited Access (Partial UNI+MLA) techniques. Based on performance evaluation of all developed techniques through mathematical analysis, it is found that these techniques outperform existing schemes in terms of throughput and quality of services guaranteed. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12088 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Lunchakorn_Wu.pdf | 12.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.