Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพรรณ โคตรจรัส-
dc.contributor.authorวัลลภา โคสิตานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2010-03-11T04:32:00Z-
dc.date.available2010-03-11T04:32:00Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743343563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12149-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม ต่อการลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ โดยมีสมมติฐานการวิจัยคือ (1) หลังการทดลอง ผู้สูงอายุที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม จะมีคะแนนความว้าเหว่าต่ำกว่าผู้สูงอายุ ที่ไม่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม (2) ผู้สูงอายุที่ได้รับ การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม จะมีคะแนนความว้าเหว่ในระยะหลังการทดลองต่ำกว่าก่อนเข้ากลุ่ม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (Pretest-Posttest Control Group Design) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีความว้าเหว่สูง ในสถานสงเคราะห์คนชราวาสนะเวศม์ จำนวน 14 คน โดยมีคะแนนความว้าเหว่สูงกว่าค่าเฉลี่ย 1 SD ได้ผู้สมัครใจเข้าเป็นกลุ่มทดลอง 7 คน และกลุ่มควบคุม 7 คน กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามแนวพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม ทั้งหมด 10 ครั้ง เป็นระยะเวลา 5 สัปดาห์ติดต่อกันสัปดาห์ละ 2 ครั้งๆ ละ 1.30-2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้นประมาณ 18 ชั่วโมง โดยผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัดความว้าเหว่ ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาจากแบบวัดความว้าเหว่ ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย นครลอสแองเจลิส ฉบับที่ 3 (The UCLA Loneliness Scale (version 3)) ของรัสเซล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยของคะแนนความว้าเหว่ ด้วยวิธีการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการทดลอง ผู้สูงอายุที่เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม มีคะแนนความว้าเหว่ต่ำกว่าผู้สูงอายุ ที่ไม่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) หลังการทดลอง ผู้สูงอายุที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม มีคะแนนความว้าเหว่ต่ำกว่าก่อนเข้ากลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study the effect of group rational emotive behavior therapy on decreasing loneliness in the elderly. The hypotheses were that (1) the posttest scores on the loneliness scale of the experimental group would be lower than the posttest scores of the control group. (2) the posttest scores on the loneliness scale of the experimental group would be lower than its pretest scores. The research design was the pretest-posttest control group design. The sample was 14 elderly in Wasanaves Home for the Elderly who scored one standard deviation above the mean on the loneliness scale. They were assigned to the experimental group, and the control group, each group comprising 7 elderly. The experimental group participated in a group rational emotive behavior therapy program conducted by the researcher, for one and a half to two hours, twice a week over a period of 5 consecutive weeks which made approximately 18 hours. The instrument used in this study was the loneliness scale developed from the UCLA loneliness scale (version 3). The t-test was utilized for data analysis. The results indicated that: (1) The posttest scores on the loneliness scale of the experimental group were lower than the posttest scores of the control group at .05 level of significance. (2) The posttest scores on the loneliness scale of the experimental group were lower than its pretest scores at .05 level of significance.en
dc.format.extent781036 bytes-
dc.format.extent1293941 bytes-
dc.format.extent864403 bytes-
dc.format.extent720146 bytes-
dc.format.extent859339 bytes-
dc.format.extent727808 bytes-
dc.format.extent1493619 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้สูงอายุen
dc.subjectความว้าเหว่en
dc.subjectจิตบำบัดแบบพิจารณาเหตุผลและอารมณ์en
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อการลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุen
dc.title.alternativeThe effect of group rational emotive behavior therapy on decreasing loneliness in the elderlyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanlapa_Ko_front.pdf762.73 kBAdobe PDFView/Open
Wanlapa_Ko_ch1.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Wanlapa_Ko_ch2.pdf844.14 kBAdobe PDFView/Open
Wanlapa_Ko_ch3.pdf703.27 kBAdobe PDFView/Open
Wanlapa_Ko_ch4.pdf839.2 kBAdobe PDFView/Open
Wanlapa_Ko_ch5.pdf710.75 kBAdobe PDFView/Open
Wanlapa_Ko_back.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.