Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12177
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรุงกุล บูรพวงศ์ | - |
dc.contributor.author | พัชรินทร์ วงศ์รักมิตร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-15T02:15:16Z | - |
dc.date.available | 2010-03-15T02:15:16Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741729642 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12177 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาความแตกต่างของการอนุมานสาเหตุที่ความสามารถและความพยายาม และการเลือกแก้ไขผลงานของบุคคลที่มีความเชื่อในทฤษฎี ความเชื่อส่วนบุคคลเกี่ยวกับสติปัญญาที่แตกต่างกัน คือ ทฤษฎีความเชื่อว่าสติปัญญาคงที่และทฤษฎีความเชื่อว่าสติปัญญาเพิ่มพูนได้ โดยศึกษาภายใต้สถานการณ์ที่ได้รับการเฉลยผลงานว่า ผลงานอยู่ในระดับต่ำและผลงานที่อยู่ในระดับพอใช้ กลุ่มตัวอย่างของการทดลองเป็นนักศึกษาปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหิดลและ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 180 คน เป็นชาย 79 คน หญิง 101 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ในสถานการณ์ผลงานอยู่ในระดับต่ำ กลุ่มที่อ่านบทความสนับสนุนทฤษฎีความเชื่อว่าสติปัญญาเพิ่มพูนได้ อนุมานสาเหตุว่า เกิดจากความพยายามมากกว่าความสามารถ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) กลุ่มที่อ่านบทความสนับสนุนทฤษฎีความเชื่อว่าสติปัญญาคงที่ อนุมานสาเหตุว่าเกิดจากความสามารถมากกว่าความพยายาม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) 2. ในสถานการณ์ผลงาน อยู่ในระดับพอใช้ทั้ง 2 กลุ่ม ผลต่างการอนุมานสาเหตุระหว่างความสามารถและความพยายาม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) 3. การเลือกแก้ไขผลงานในสถานการณ์ผลงานอยู่ในระดับต่ำ กลุ่มที่อ่านบทความสนับสนุนทฤษฎีความเชื่อว่า สติปัญญาเพิ่มพูนได้ เลือกแก้ไขผลงานมากกว่า กลุ่มที่อ่านบทความสนับสนุนทฤษฎีความเชื่อว่าสติปัญญาคงที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และในสถานการณ์ผลงานอยู่ในระดับพอใช้ทั้ง 2 กลุ่ม เลือกแก้ไขผลงานไม่แตกต่างกัน | en |
dc.description.abstractalternative | To study the effort and the ability attribution choice and remedial action under different implicit theories of intelligence-incremental theory of intelligence versus entity theory of intelligence. The study proceeded under 2 ostensible situations, poor performance and fair performance. Subjects were 180 students from Mahidol University and Kasetsart University, 79 males and 101 females. The results show that 1. In poor performance situation: Participants who read an article on incremental theory of intelligence make significantly more attribution to effort than to ability (p<.001), those who read an article on entity theory of intelligence make significantly more attribution to ability than to effort (p<.01). 2. In fair performance situation: The ability and the effort attributions in both groups of participants differ significantly (p<.001). 3. Remedial action: In poor performance situation, participants who read the incremental theory of intelligence article choose to take remedial action significantly more than those who read the entity theory of intelligence article (p<.001). In fair performance situation, participants who read the incremental theory of intelligence article and the entity theory of intelligence article do not differ in their choices to take remedial action. | en |
dc.format.extent | 1149563 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การอนุมานสาเหตุ (จิตวิทยาสังคม) | en |
dc.subject | ระดับสติปัญญา | en |
dc.title | ผลของทฤษฎีความเชื่อส่วนบุคคลเกี่ยวกับสติปัญญาต่อการอนุมานสาเหตุและการเลือกแก้ไขผลงาน | en |
dc.title.alternative | The Effect of implicit theory of intelligence on attribution and remedial action | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาสังคม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PatcharinW.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.