Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศ-
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ โค้วคาศัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-03-17T08:53:42Z-
dc.date.available2010-03-17T08:53:42Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12296-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้าโดยลดความผิดพลาด และเวลาในการทำงานของขั้นตอนการทำงานภายในคลังบรรจุภัณฑ์ที่โรงงานตัวอย่าง จากการศึกษาการทำงานปัจจุบันในส่วนของคลังบรรจุภัณฑ์ พบว่ามีปัญหาด้านความผิดพลาดในหลายส่วน เช่น จำนวนบรรจุภัณฑ์ที่ระบุในเอกสารและฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ไม่ตรงกับจำนวนของที่มีอยู่จริง ส่งของผิดพลาดไม่ได้จำนวนตามที่ต้องการ ไม่พบสินค้าในตำแหน่งที่ระบุไว้ในสถานที่จัดเก็บ รวมทั้งพบปัญหาการทำงานที่ล่าช้าของพนักงาน เนื่องจากมีการทำงานที่ซ้ำซ้อนกันภายในแผนก และมีการรองานจากขั้นตอนก่อนหน้าหรือจากแผนกอื่น ปัญหาที่พบอีกส่วนหนึ่งคือ ความไม่ชัดเจนในการสื่อความหมายของรหัสบรรจุภัณฑ์ ทำให้เกิดความล่าช้าในการค้นหาบรรจุภัณฑ์ และเกิดความผิดพลาดในการทำงาน งานวิจัยนี้จึงได้ปรับปรุงการทำงานโดยออกแบบลำดับขั้นตอนการทำงาน และวิธีปฏิบัติงานส่งผลให้ได้ระยะเวลาในการทำงานรวมลดลง 8.60% และเพิ่มความถูกต้องในการทำงาน 6.58% ได้ออกแบบรหัสบรรจุภัณฑ์ใหม่และกำหนดตำแหน่งการจัดวางบรรจุภัณฑ์ในคลังสินค้า เพื่อเพิ่มความสะดวกและความถูกต้อง สามารถลดระยะทางในการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์ลงได้ 33.81% และศึกษาความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ระบบรหัสแท่งทางด้านต้นทุน และระยะการคืนทุนของโครงการพบว่า เป็นโครงการที่น่าลงทุน เนื่องจากให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) 2,720,210.50 บาท อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) 6.77 ระยะเวลาคืนทุน (N) 0.59 ปี และอัตราผลตอบแทนของลงทุน (IRR) 170.72%en
dc.description.abstractalternativeTo improve the efficiency of warehouse management by reducing information error and operating time. The operations take long time that because of the redundant tasks, the waiting time and the error in the working process. The fish bone diagram and work flow process chart were used as tools to improve process. After a process analysis, new process and procedure were designed which results in 8.60% reduction in operating time and 6.58% increase in operation accuracy. Product code and warehouse layout were designed, which result in 33.81% reduction in product moving distance. Finally, New process was designed to use with the barcode system and feasibility study was developed for a barcording system investment which result in 2,720,210.50 bahts in net present value (NPV), 6.77 in benefit/cost ratio (B/C), payback period (N) 0.59 years and 170.72% in interest rate of return (IRR).en
dc.format.extent2756272 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าen
dc.subjectการศึกษาความเป็นไปได้en
dc.subjectบาร์โคดen
dc.subjectผลิตภัณฑ์บำรุงผมen
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า : กรณีศึกษาโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์บำรุงผมen
dc.title.alternativeAn efficiency improvement for warehouse management : a case study of a hair nourishing product manufacturingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
juthatip.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.