Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14017
Title: พิณสายร่ายลำนำ : กู่ฉิน ในวรรณคดีจีน
Other Titles: A Zither radiating melody : Guqin in Chinese literature
Authors: จินตนา ธันวานิวัฒน์
Email: [email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Subjects: กู่ฉิน
พิณ -- จีน
เครื่องดนตรีจีน
เครื่องดนตรีในวรรณคดีจีน
Issue Date: 2546
Publisher: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Citation: วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 32,2(ก.ค.-ธ.ค. 2546),138-181
Abstract: กู่ฉินเป็นเครื่องดนตรีจีนโบราณที่ขงเบ้งใช้บรรเลงบนกำแพงเมืองจีนเพื่อลวงสุมาอี้ในวรรณคดีเรื่อง สามก๊ก กู่ฉินยังเป็นดนตรีประกอบการต่อสู้ฉากสำคัญในภาพยนตร์จีนกำลังภายในเรื่อง Hero บทความวิจัยนี้ศึกษากู่ฉินที่ปรากฏในวรรณคดีจีนสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณก่อนราชวงศ์ฉิน จนถึงราชวงศ์ชิง รูปแบบของวรรณคดีที่นำมาศึกษา ได้แก่ บทกวี บทละคร นิยาย และบทความ นอกจากนี้ยังศึกษาบทเพลงกู่ฉินที่มีความสัมพันธ์กับวรรณคดีจีน ได้แก่ บทเพลงกู่ฉินที่ได้รับแรงบันดาลใจ หรือได้อิทธิพลมาจากวรรณคดี และการนำบทกวีในวรรณคดีมาเป็นเนื้อร้องเพลงกู่ฉิน การวิจัยนี้เป็นการศึกษากู่ฉินโดยผ่านผลงานวรรณคดีจีนซึ่งจะทำให้เห็นถึงสถานภาพของกู่ฉินตั้งแต่โบราณ ความสัมพันธ์ระหว่างกวีกับดนตรี และนักดนตรีกับผลงานด้านวรรณคดี
Other Abstract: This paper studies the role of the Guqin in Chinese literature - from the pre-Qin dynasty to the Qing dynasty. The genres of literary works studied include poetry, plays, novels, and essays. It also examines relations between Guqin music and Chinese literature; for example, the influence of literary works on the music of the Guqin and poems adapted into lyrics for Guqin music. This study of the Guqin throughout Chinese literature helps show the status of the Guqin from ancient times, the relationship between poets and music, and that between musicians and literature.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14017
ISSN: 0125-4820
Type: Article
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jintana_Guqin.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.