Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14247
Title: | การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมสำหรับคานคอนกรีตต่อเนื่องอัดแรงบางส่วน |
Other Titles: | Optimal design of partially prestressed concrete continuous beams |
Authors: | ธัญญาภรณ์ วั่นเลี่ยง |
Advisors: | วัฒนชัย สมิทธากร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected], [email protected] |
Subjects: | คานคอนกรีต คานคอนกรีตอัดแรง |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | เสนอวิธีการคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมสำหรับคานคอนกรีตต่อเนื่องอัดแรงบางส่วน โดยใช้วิธีอัตราส่วนอัดแรง ซึ่งเสนอโดย Naaman และ Siriaksorn ในการออกแบบอ้างอิงตามมาตรฐาน ACI 318M-02 เพื่อให้สอดคล้องตามข้อกำหนดที่สภาวะถ่ายแรง สภาวะรับน้ำหนักใช้งาน สภาวะรับน้ำหนักประลัย และข้อกำหนดอื่นๆ การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสม กำหนดให้ราคารวมของคอนกรีตเหล็กเสริมอัดแรง เหล็กเสริมไม่อัดแรง เหล็กเสริมรับแรงเฉือน และไม้แบบ เป็นฟังก์ชันเป้าหมาย เพื่อให้ได้คานคอนกรีตต่อเนื่องอัดแรงบางส่วนที่เหมาะสมทั้งด้านกำลังและราคา ผลการศึกษากรณีตัวอย่างพบว่า การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมในงานวิจัยนี้ จะประหยัดราคาค่าก่อสร้างได้ประมาณ 12% เมื่อเปรียบเทียบกับการออกแบบเป็นคานคอนกรีตอัดแรงแบบปกติ นอกจากนี้ยังพบว่า การเปลี่ยนขนาดความลึกของหน้าตัดคานที่เหมาะสมจะสามารถช่วยลดราคาค่าก่อสร้างได้อีกด้วย |
Other Abstract: | To present an optimal design method for partially prestressed concrete continuous beams. The design is based on partial prestressing ratio (PPR) concept proposed by Naaman and Siriaksorn. Following the ACI building code (ACI 318M-02) the structures must satisfy the requirements at prestress transfer, at service, at ultimate and so on. The optimal design appoints the total cost of concrete, prestressing tendons, nonprestressed reinforcement, stirrups, and formwork as the objective function. The solution is sought for the partially prestressed concrete continuous beam with sufficient strengths and optimal cost. Results from case studies indicated that the optimal design reduce the construction cost by approximately 12% when comparing with the design of conventional prestressed concrete beam. Moreover, it is found that varying the depth of the beam to a more appropriate value can yield some further cost reduction. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมโยธา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14247 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1882 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2007.1882 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thanyaporn_wa.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.