Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15137
Title: | สารมีฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ที่ต้านโรคสแคปในมันฝรั่ง : รายงานผลการวิจัย |
Other Titles: | Biological active substance from microorganism antagonistic against common scab in potato |
Authors: | สุรีนา ชวนิชย์ |
Email: | [email protected] |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาจุลชีววิทยา |
Subjects: | จุลินทรีย์ มันฝรั่ง ปฏิชีวนะ โรคสแคป |
Issue Date: | 2534 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | จากการคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สามารถผลิตสารมีฤทธิ์ทางชีวภาพยับยั้ง Streptomyces scabies ที่ทำให้เกิดโรคสแคปหรือหูดในมันฝรั่ง จำนวน 17 สายพันธุ์ ซึ่งแยกได้จากดินบริเวณที่เพาะปลูกมันฝรั่ง โดยใช้วิธีขีดไขว้และวิธีซึมผ่านอาหารเลี้ยงเชื้อ พบว่า สายพันธุ์ C-33 เป็นจุลินทรีย์สายพันธุ์ที่ดีที่สุด ในการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตสารมีฤทธิ์ทางชีวภาพในขวดเขย่าของสายพันธุ์ C-33 พบว่า ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วย 1% กลูโคส, 2% ชอยโทน, 1% ผงสกัดมอลท์, 0.028 กรัม/ลิตร FeSO[subscript 4], 1.6 กรัม/ลิตร k[subscript 2]SO[subscript 4], 0.005 กรัม/ลิตร MgCl[subscript 2] และ 0.01 กรัม/ลิตร MnSO[subscript 4] ความเป็นกรดด่างของอาหารเลี้ยงเชื้อเริ่มต้น 7.0-8.5 บ่มที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 36 ช.ม. จะเป็นสภาวะที่เหมาะสมที่สุดต่อการผลิตสาร จากการตรวจจำแนกทางอนุกรมวิธาน สายพันธุ์ C-33 มีลักษณะคล้ายคลึง Bacillus licheniformis |
Other Abstract: | From selection of 17 microorganisms which was isolated from soil in potato plantation. A strain, C-33 was selected by cross streak and paper disc diffusion methods as the best antagonistic activity producer, against Streptomyces scabies, a causative agent of common scab in potato. To optimize conditions for production of biological active substance of the strain in shake flasks, the medium should composed of 1% glucose, 2% soytone, 1% malt extract, 0.028% g/l FeSO[subscript 4] 1.6 g/l K[subscript 2]SO[subscript 4], 0.005 g/l MgCl[subscript 2] and 0.01 g/l MnSO[subscript 4], with initial pH range 7.0-8.5 incubated at 27 [degrees celsius] for 36 h. From identification, the strain C-33 was identical to Bacillus licheniformis. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15137 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surina.pdf | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.