Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15278
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ แสงวงค์วาณิชย์-
dc.contributor.authorนันท์ทัต กลิ่นจำปา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-06-12T06:25:48Z-
dc.date.available2011-06-12T06:25:48Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15278-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractงานวิจัยในอดีตเกี่ยวกับเมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์ส่วนใหญ่ ให้ความสำคัญกับการปรับแรงดันด้านออกหรือกระแสด้านเข้าให้ได้ตามต้องการ แต่งานวิจัยนี้จะนำเสนอเมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์ในอีกมุมหนึ่งว่าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแปลงอิมพีแดนซ์โดยอาศัยรูปแบบการสวิตช์พื้นฐาน ซึ่งจากผลการวิเคราะห์พบว่าที่สภาวะอยู่ตัวอิมพีแดนซ์ด้านเข้าของเมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์มีค่าที่เปลี่ยนแปลงไปจากอิมพีแดนซ์ทางด้านออก ขึ้นกับอัตราส่วนความถี่ด้านออกต่อด้านเข้าและรูปแบบการสวิตช์ที่เลือกใช้และในสภาวะชั่วครู่พบว่าเมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์มีผลตอบสนองชั่วครู่แตกต่างไปจากผลตอบสนองชั่วครู่ของค่าอิมพีแดนซ์ด้านเข้าที่คำนวณได้ในสภาวะอยู่ตัว ผลการวิเคราะห์ทางทฤษฎีทั้งหมดยืนยันได้ด้วยผลการจำลองและผลการทดลองวงจรเมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์ที่สร้างขึ้นจริง จากผลการวิเคราะห์คุณสมบัติการแปลงอิมพีแดนซ์ ทำให้ทราบว่าเมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์สามารถปรับทั้งขนาดและมุมเฟสของอิมพีแดนซ์ทางด้านเข้าได้ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ เพื่อสร้างอุปกรณ์สำหรับปรับปรุงตัวประกอบกำลังที่ทำให้ค่าตัวประกอบกำลังของระบบคงที่ได้อย่างต่อเนื่อง.en
dc.description.abstractalternativeResearch works in the past related to matrix converters focused mainly on the adjustment of output voltages and input currents. On the contrary, the purpose of this thesis is to investigate a new property of the matrix converter concerning its impedance transformation characteristic when using the basic switching function of Venturini. Theoretical analysis shows that the matrix converter is capable of transforming its output impedance to various input impedances, depending on the ratio of the output and input frequencies and the switching function being used. However, during transient, the matrix converter responds differently from the transient response of the so-derived steady-state impedance. All the theoretical analysis results are verified by simulation and experiment.en
dc.format.extent3206936 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1417-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอิมพีแดนซ์en
dc.subjectกระแสไฟสลับen
dc.titleการแปลงอิมพีแดนซ์โดยใช้เมทริกซ์คอนเวอร์เตอร์en
dc.title.alternativeImpedance transformation by matrix converteren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1417-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nuntut.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.