Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15294
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | บุษกร สำโรงทอง | - |
dc.contributor.author | ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน | - |
dc.contributor.author | ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์ | - |
dc.contributor.author | ขำคม พรประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคกลาง) | - |
dc.date.accessioned | 2011-06-14T03:18:42Z | - |
dc.date.available | 2011-06-14T03:18:42Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15294 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาด้านวัฒนธรรมดนตรีของภาคกลาง และภาคอีสานใต้ โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากศิลปินดนตรีพื้นบ้านและช่างทำเครื่องดนตรีในเขตภาคกลาง 20 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปราจีนบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง อุทัยธานี และกรุงเทพมหานคร และภาคอีสานใต้ 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ ศรีสะเกษ สระแก้ว สุรินทร์ อุบลราชธานี และจังหวัดนครราชสีมา จากการศึกษาพบว่า ภาคกลางนั้นมีดนตรีประเภทเพลงร้องเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ เพลงพื้นบ้านของชุมชนต่างๆ เช่น เพลงพื้นบ้านท่าโพ ของชาวตำบลท่าโพ จังหวัดอุทัยธานี เพลงพื้นบ้านพนมทวนของชาวอำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี และเพลงพื้นเมืองที่เป็นที่รู้จักในภาคกลางทั่วไป ได้แก่ เพลงฉ่อย เพลงอี-แซว เพลงขอทาน เพลงเรือ เพลงพวงมาลัย ลำตัด เพลงหางเครื่อง เพลงกล่อมลูก เพลงปรบไก่ การรำโทน นอกจากนี้ยังมีการแสดงกลองยาว เป็นต้น จังหวัดที่มีวัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีแบบมอญ ได้แก่ จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรปราการ และนนทบุรี ซึ่งมีการร้อง และบรรเลงเพลงทะแยมอญเป็นต้น ส่วนดนตรีที่มีชื่อเสียงของภาคอีสานใต้ ได้แก่ วงกันตรึม วงมโหรีเขมร วงปี่พาทย์พื้นบ้าน วงมะม้วด แต่หมอลำปรากฎเป็นที่นิยมในจังหวัดอุบลราชธานีเพียงจังหวัดเดียว งานวิจัยค้นพบข้อสรุปของดนตรีพื้นบ้านในด้านวิวัฒนาการ ด้านการบรรรเลง ด้านพิธีกรรม และความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการสืบทอดดนตรี รวมถึงกรรมวิธีการสร้างเครื่องดนตรี ว่ามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเป็นบางส่วนทั้งในด้านการบรรเลง พิธีกรรม และความเชื่อของศิลปิน รวมถึงวิวัฒนาการของการสร้างเครื่องดนตรี แต่ก็ยังมีดนตรีพื้นบ้านบางพื้นที่ที่คงรักษาเอกลักษณ์วัฒนธรรมดนตรีแบบดั้งเดิมของท้องถิ่นตนไว้ได้โดยไม่เปลี่ยนแปลง | en |
dc.description.abstractalternative | This research project focused on the study of Thai musical culture in two regions: The Middle part of Thailand and the Lower Northeast. The former is comprised of the Kanchanaburi, Chacheongsaow, Chainad, Nakorn Nayok, Nakornprathom, Nonthaburi, Prajinburi, Pathumthani, Ayuthaya, Rachaburi, Lopburi, Samuthprakarn, Samuthsongkram, Samuthsakorn, Saraburi, Singhaburi, Supanburi, Angthong, Uthaithani and Bangkok provinces whereas the latter consists of the Burirum, Surin, Si Saked, Sagaew, Ubonrachathani and Nakornracgasima provinces. The study found that Music in the Middle Region of Thailand is typified by the type of vocal music found in the Tha Pho sub-district of the Uthai Thani province which is known as Phleng Peon Ban Tha Po and Phleng Peon Ban Phanom Toun, Kanchanaburi provinces. The well-known vocal music of the Middle region consists of the Phleng Choi, Phleng Ei-Saew, Phleng Koh tan, Phleng Reo, Phleng Phoungmarai, Lumtud, Phleng Hangkroeng, PhlengKrom Luk, Rum Thon. A well known non-vocal genre is the Klong Yaw. Some characteristics of the Mon style of music were discovered in the Samuthprakarn, and Nonthaburi provinces in which the Thayae Mon is performed. And the prominebt musical genre of the Lower Northeastern Regions are known as Kantreom, Mahari Khamere, Phipat and Mamoud. However, Moh Lum is well-known only in the Ubonrachathani area. The research findings shows the Musical evolution, the performing methods, the beliefs and rites as related to intergenerational musical transmission as well as the corresponding music genres and instrument making techniques. However, it was discovered that in some locations the traditional musical roots remain just as deep and strong today as in the past. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2549 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.format.extent | 58313698 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ดนตรีพื้นบ้าน -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | en |
dc.subject | ดนตรีพื้นบ้าน -- ไทย (ภาคกลาง) | en |
dc.title | วัฒนธรรมดนตรีไทย ภาคกลาง และภาคอีสานใต้ : รายงานวิจัย | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Busakorn_middle.pdf | 56.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.