Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม-
dc.contributor.authorปาณิศาร์ เจษฎาอรรถพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-09-21T11:44:58Z-
dc.date.available2011-09-21T11:44:58Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15914-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractจากวิกฤตการณ์ซับไพร์ม มาถึงวิกฤตการณ์ทางการเงินของโลกในปัจจุบัน (ปีค.ศ. 2009) พบว่า สภาวการณ์ตึงตัวของตลาดทุนเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ซึ่งธนาคารกลางได้ดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการดำเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัว แต่ใน ขณะเดียวกันก็ยังมีความท้าทายในประเด็นเรื่องประสิทธิผลของนโยบายการเงิน ว่าจะสามารถแก้ปัญหาได้มากน้อยเพียงใดภายใต้สภาวะการหดตัวของงบดุล ในสถาบันการเงินและหน่วยธุรกิจ นอกจากนี้การวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายการเงินโดยส่วนใหญ่มักจะศึกษาผ่านทางการตรวจสอบ Impulse response (ไม่ว่าจะเป็น VAR หรือ DSGE) ซึ่งผลกระทบที่ได้โดยทั่วไปมักจะแสดงในลักษณะสมมาตร ในขณะที่มีงานศึกษาเชิงประจักษ์บางกลุ่มได้พบว่า ผลกระทบจากการดำเนินนโยบายทางการเงินมีลักษณะไม่สมมาตร งานศึกษานี้จึงเริ่มจากการศึกษาความไม่สมมาตรของผลกระทบจากการดำเนินนโยบายการเงิน ตลอดจนมุ่งศึกษาประสิทธิผลของการดำเนินนโยบายการเงิน ภายใต้สภาวการณ์ตึงตัวของตลาดทุนสองกรณี คือ 1) การตึงตัวของตลาดสินเชื่อ และ 2) การหดตัวของหลักทรัพย์ค้ำประกัน โดยนำแบบจำลองของ Hölmstrom และ Tirole (1997) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับสภาวการณ์ตึงตัวของตลาดทุน มาเป็นแบบจำลองพื้นฐานในการศึกษา และวิเคราะห์แบบจำลองดังกล่าวด้วยกรอบงานศึกษาของ Aikman (2001) ซึ่งใช้แบบจำลอง IS-LM ในการอธิบายประสิทธิผลของการดำเนินนโยบายการเงินภายใต้วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินนโยบายการเงินไม่มีความสมมาตร และเมื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงประสิทธิผลของการดำเนินนโยบายการเงิน เมื่อเกิดสภาวการ์ตึงตัวของตลาดทุนพบว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวขึ้นอยู่กับสองปัจจัย คือ 1) ประเภทของสภาวการณ์ตึงตัวของตลาดทุน และ 2) การกระจายตัวของสินทรัพย์ของหน่วยธุรกิจen
dc.description.abstractalternativeDuring the sub-prime crisis (early 2007) to the recent global financial crisis, capital tightening was one of the major causes of economic recession. Central bank had tried to correct the situation by implementing expansionary monetary policy. However, the effectiveness of monetary policy is a challenge under capital tightening. In addition, most analysis about the effectiveness was based on impulse responses (i.e. VAR or DSGE) which usually represent the effectiveness as symmetric while, some empirical study found that the effectiveness is asymmetric. Consequently, this thesis focuses on the effectiveness of monetary policy; which could be asymmetric, through credit channel under capital tightening (credit crunch and collateral squeeze). The author modifies a simple macroeconomic model based on the microfoundations of Hölmstrom and Tirole (1997) to explain the types of capital tightening and analyses the model by Aikman framework (2001) which use IS-LM model to explains how a financial crisis influences the power of monetary policy. The results show that monetary policy has asymmetric effects on output and the variation of the effectiveness of monetary policy depends on the types of capital tightening and the distribution of assets across firms.en
dc.format.extent1273221 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1040-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตลาดทุนen
dc.subjectสินเชื่อen
dc.subjectทฤษฎีประสิทธิภาพตลาดหลักทรัพย์en
dc.subjectเศรษฐกิจถดถอยen
dc.titleประสิทธิผลของการดำเนินนโยบายการเงินผ่านช่องทางสินเชื่อ ภายใต้สภาวการณ์ตึงตัวของตลาดทุนen
dc.title.alternativeEffectiveness of monetary policy through credit channel under capital tighteningen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1040-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panisa_Je.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.