Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16349
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิศักดิ์ สุขในศิลป์-
dc.contributor.authorสาโรจน์ ปัญญามงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2011-12-09T03:39:28Z-
dc.date.available2011-12-09T03:39:28Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745849316-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16349-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en
dc.description.abstractต้นทำมัง Litsea petiolata Hook.f. เป็นไม้ยืนต้น พบมากทางภาคใต้ของประเทศไทย ใบและกิ่งของต้นไม้ชนิดนี้จะมีกลิ่นคล้ายกลิ่นแมลงดานา เมื่อนำใบและกิ่งมาสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยใช้ เฮกเซนเอทานอล และกลั่นโดยใช้ไอน้ำ พบว่าน้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากใบจะสูงกว่าจากกิ่ง วิธีใช้ไอน้ำจะให้น้ำมันหอมระเหยสูงที่สุด คือ จากใบ 1.11 เปอร์เซนต์ โดยปริมาตรต่อน้ำหนัก แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p>-0.05)กับวิธีการสกัดโดยใช้เฮกเซนและเอทานอลจากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีด้วยเครื่องแก๊สโครมาโตรกราฟี-แมสสเปคโตรเมตรี (GC-MS) ประกอบด้วยสาร 8 ชนิด คือ 2-Butanone, 4-Cyclohexyl, 11-Dodecen-2-one, 5-Hepten-2-One, 6-Methyl, 2-Tridecanone, 1-Ethyl-2-Methylcyclohexane, 7-Octane-2-one, Undecanone, และ 2-Nonanoe เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับสารที่พบในน้ำมันหอมระเหยจากแมลงดานาแล้วไม่มีสารชนิดใดที่เหมือนกัน นำน้ำมันหอมระเหยจากใบทำมังมาแยกด้วยคอลัมน์โครมาโตกราฟีโดยมีซิลิกาเจลเป็นตัวดูดซับ พบว่าสามารถแยกได้ 8 ลำดับส่วน ลำดับส่วนที่ 2 และ 3 จะมีกลิ่นแมลงดานามากกว่าลำดับส่วนอื่น เมื่อนำไปวิเคราะห์พบว่าสารที่ให้กลิ่นคล้ายกลิ่นแมลงดานา คือ 2-Butanone, 4-Cyclohexyl, 5-Hepten-2-one,6 Methyl 2-Tridecanone และ 1-Ethyl-2-Methylcyclohexane ปริมาณ 6.75, 22.08, 68.34 และ 12.82 เปอร์เซนต์ ตามลำดับ เมื่อนำไปทดสอบทางประสาทสัมผัสด้านกลิ่นเปรียบเทียบกับกลิ่นน้ำมันหอมระเหยจากแมลงดานาที่ความเข้มข้นแตกต่างกันคือ 1.0, 2.5, 5.0, 7.5 และ 10.0 เปอร์เซนต์ ด้วยวิธี Triangle test ใช้ผู้ทดสอบที่มีความชำนาญ และผู้ทดสอบในห้องปฏิบัติการที่ผ่านการฝึกมาเป็นอย่างดี 15 คน พบว่าน้ำมันหอมระเหยใบทำมังลำดับส่วนที่ 2 และ 3 มีกลิ่นต่างกันกับกลิ่นแมลงดานาอย่างมีนัยสำคัญ (p<-0.01) ในระดับความแตกต่างปานกลางถึงค่อนข้างมาก (p<-0.01) โดยสรุปว่ากลิ่นน้ำมันหอมระเหยใบต้นทำมังลำดับส่วนที่ 2 และ 3 จะมีกลิ่นฉุนคล้ายกลิ่นแมลงดานาเท่านั้นen
dc.description.abstractalternativeThummang, Litsea petiolata Hook.f. is a native tree of Southern of Thailand. Thummang leave and twigs which have an odour liked Mangdana (Lethocerus indicus.) odour was used as a raw material for extraction by hexane, ethanol and direct steam distillation. The extraction were found that thummang leave gave the higher essential oil than twigs, and the direct steam distillation is a proper extraction which gave the highest yield 1.11%(V/W), but not significant different (p>-0.05) from the solvent extraction. The essential oil components were analysed and identified by Gas Chromatography-Mass spectrometry (GC-MS) and composed of 8 components which were 2-Butanone, 4-Cyclohexyl, 11-Dodecen-2-one, 5-Hepten-2-One, 6-Methyl, 2-Tridecanone, 1-Ethyl-2-Methylcyclohexane, 7-Octane-2-one, Undecanone, and 2-Nonanoe. These components are different from Mangdana essential oil component. Thummang essential oil was fractionated by silica gel column chromatography and resulted in 8 fractions, the odour of fraction II and III was similar to Mangdana essential oil, The volatile components of fraction II and III were 2-Butanone, 4-Cyclohexyl 6.75 percent, 5-Hepten-2-one, 6 Methyl 22.08 percent, 2-Tridecanone 68.34 percent 1-Ethyl-2-Methylcyclohexane 12.82 percent. The sensory evaluation of fraction II and III was compared with Mangdana essential oil at theconcentration 1.0, 2.5, 5.0, 7.5 and 10.0 percent by Triangle test with 15 experienced panelists. It was found that the odour of fraction II and III of Thummang essential oil and Mangdana essential oil were significant different (p<-0.01). The panelists significantly accepted (p<-0.01) Mangdana essential oil more than fraction II and III. In conclusion, fraction II and III only had strong odour similar Mangdana.en
dc.format.extent2921282 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทำมัง(พืช) -- วิเคราะห์และเคมีen
dc.subjectใบไม้ -- การวิเคราะห์en
dc.subjectลำต้น -- การวิเคราะห์en
dc.subjectน้ำมันหอมระเหยen
dc.subjectสารให้กลิ่นรสen
dc.titleการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบและกิ่งต้นทำมัง Litsea petiolata Hook.f เพื่อใช้เป็นสารแต่งกลิ่นรสอาหารen
dc.title.alternativeExtraction of essential oil from thummang litsea petiolata hook.f. leaves and twigs as a food flavouren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarote_pa.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.