Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูล-
dc.contributor.authorวชิราภรณ์ ทะคะทิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-17T06:00:02Z-
dc.date.available2012-02-17T06:00:02Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16921-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโดยมีวัตถุประสงค์ คือ1 ) เพื่อศึกษาปัจจัย ที่ส่งผลต่อคุณภาพสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบที่สองจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)ใน พ.ศ. 2549-2550 จำนวน 218 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย ได้แก่ ครูและผู้บริหาร ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปรภายในแฝง 4 ตัวแปร คือ คุณภาพสถานศึกษา สมรรถนะของผู้บริหาร คุณลักษณะของครูและการมีส่วนร่วมของชุมชน ตัวแปรภายนอกแฝง 1 ตัวแปร คือ บริบทของสถานศึกษา โดยตัวแปรแฝง วัดจากตัวแปรสังเกตได้รวมทั้งหมด 12 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีความเที่ยงในการวัดตัวแปรสังเกตได้แต่ละตัวตั้งแต่ .70 -.96 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์โมเดลลิสเรล ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ สมรรถนะของผู้บริหาร คุณลักษณะของครู การมีส่วนร่วมของชุมชน และบริบทของสถานศึกษา โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลรวมสูงสุดต่อคุณภาพ คือ สมรรถนะของผู้บริหาร ส่วนตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ สมรรถนะของผู้บริหารและการมีส่วมร่วมของชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 2. โมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยภาพรวม ประกอบด้วย โมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ โดยให้ค่าไค-สแควร์(Chi-square)เท่ากับ 69.755 p=.123 ที่องศาอิสระเท่ากับ 38 ค่าGFI เท่ากับ .951 ค่าAGFIเท่ากับ .927 และค่าRMRเท่ากับ0.136 ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบาย ความแปรปรวนของคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ร้อยละ 29.3en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) study the factors which effect on the quality of Basic Education Schools and 2) to develop and validate a causal model of the quality of basic education schools with empirical data. The research sample consisted of 218 basic institutions which received the second external quality evaluation from the Office for National Education standards and quality assessment (Public Organization) from B.E. 2549 to 2550.The research responders were school directors and teachers. The research variables were 4 internal latent variables consisting of the quality of schools, administrators’ competency, the characteristics of teacher, community participation as well as the external latent variable was school context which were measured by 12 indicators as observe variables. The methodology of this research is the precise of variable measurement of each items from .70 -.96. The data were collected by questionnaires and analyzed by descriptive statistics and linear equation model. (Lisrel 8.72) The major findings were as follows: 1. The factors which effect on the quality of Basic Education Schools were administrators’ competency, the characteristics of teacher and community participation and variable which effect to quality of educational are received the highest total effect from the administrators’ competency and ,community participation. The variable which have effect both direct and indirect for the quality of education is the administrators’ competency. 2. The model of the quality of Basic Education Schools was fitted to the empirical data by given Chi –square equal to 69.755 p=.123 , degree of freedom 38 ,GFI .951 , AFG .927 RMR 0.136 variable at model can explain the variance of the basic educational quality 29.3%en
dc.format.extent1386669 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.487-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.subjectประกันคุณภาพen
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาen
dc.subjectคุณภาพทางวิชาการen
dc.titleการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานen
dc.title.alternativeThe development of a causal model of the quality basic education schoolsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.487-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vachiraporn_Ta.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.