Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล-
dc.contributor.authorชัชรียา เชยชม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-25T11:51:34Z-
dc.date.available2012-02-25T11:51:34Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17013-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractพัฒนาอาหารสำหรับใช้ในการเลี้ยงหอยหวาน Babylonia areolata โดยการเสริมอาหารสูตรควบคุมด้วยบริเวอร์ยีสต์ 2 ระดับ (ร้อยละ1, 2) และด้วย นิวคลีโอไทด์ (NuPro) 2 ระดับ (ร้อยละ1, 2) ศึกษาการเติบโต และอัตรารอดของหอยหวาน (Babylonia areolata) โดยเลี้ยงหอยหวานในบ่อเลี้ยงระบบน้ำหมุนเวียนเป็นระยะเวลา 4 เดือน ที่ความหนาแน่น 214 ตัว/ตารางเมตร พบว่าการเติบโตในด้านความยาวเปลือก และน้ำหนัก ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละการทดลองไม่มีความแตกต่างกันแต่อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อของ หอยหวานมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ(P<0.05) โดยอาหารผสมที่เสริมนิวคลีโอไทด์ 2% บริเวอร์ยีสต์ 1% และบริเวอร์ยีสต์ 2% มีอัตราแลกเนื้อต่ำที่สุด เท่ากับ 1.05, 1.05 และ 1.06 ตามลำดับ โดยอาหารผสมที่เสริมนิวคลีโอไทด์ 1% และอาหารสูตรควบคุมมีอัตราแลกเนื้อ ที่สูงกว่าโดยเท่ากับ 1.22 อัตราการรอดตายสุดท้ายของหอยหวานในทุกการทดลองไม่มีความแตกต่างกัน โดยทุกการทดลองมีอัตราการรอดเกิน 97% (97.78%-100%) สำหรับการทดสอบความสามารถในการต้านทานโรคของหอยหวานที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมบริเวอร์ยีสต์ และ นิวคลีโอไทด์ในสัดส่วนที่ต่างกัน โดยการฉีด Vibrio alginolyticus ที่ระดับความเข้มข้นเท่ากับ ค่า LD50 ภายในระยะเวลา 24 ชั่วโมง พบว่าในเดือนที่ 1 อาหารผสมที่เสริมบริเวอร์ยีสต์ 1% มีอัตราการรอด และประสิทธิภาพการต้านทานต่อโรคดีที่สุด คือร้อยละ 90.00 ± 22.36 และ ร้อยละ 84.62 เช่นเดียวกับเดือนที่ 4 (สิ้นสุดการทดลอง) ซึ่งมีอัตราการรอด และประสิทธิภาพการต้านทานต่อโรคดีที่สุด คือร้อยละ 80.00 ± 20.92 และร้อยละ 76.92en
dc.description.abstractalternativeTo evaluate the effect of supplemented brewer’s yeast (1% and 2%) and nucleotides (1% and 2%) on growth and survival of Spotted Babylon (Babylonia areolata) in a flow-through seawater system during a period of 4 months. The density of spotted babylon used was 214 individuals/m2. Growth in shell length and weight gain were not different among the treatments. Feed conversion ratio (FCR) was significantly different (P<0.05). The diets supplemented with 2% nucleotide, 1% brewer’s yeast and 2% brewer’s yeast provided lower FCR at 1.05, 1.05 and 1.06 respectively. The diet with supplemented 1% nucleotide and control diet provided a higher FCR of 1.22. The final survival rates in all treatments were not different (97%-100%). On the vibriosis resistance test, median lethal dose (LD50) of Vibrio alginolyticus was intramuscularly injected to Spotted Babylon fed different treatment diets and raised for 24 hours. The results showed that Spotted Babylon fed 1% brewer’s yeast for 1 month had the highest % survival rate and relative percent survival (RPS) at 90.00 ± 22.36% and 84.62 % respectively. The result for the 4 month-rearing spotted Babylon also showed the similar trend with 80.00 ± 20.92 %survival rate and 76.92 %RPS.en
dc.format.extent1752743 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1334-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหอยหวาน -- การเพาะเลี้ยงen
dc.subjectหอยหวาน -- อาหารen
dc.subjectยีสต์en
dc.subjectนิวคลิโอไทด์en
dc.titleผลของบริเวอร์ยีสต์และนิวคลีโอไทด์ในอาหารต่อการเติบโตและอัตรารอดของหอยหวาน Babylonia areolataen
dc.title.alternativeEffects of brewer's yeast and dietary nucleotides on growth and survival rate of spotted babylon Babylonia areolataen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1334-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatchareeya_ch.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.