Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศจี จันทวิมล-
dc.contributor.advisorพวงแก้ว ปุณยกนก-
dc.contributor.authorลออ ประภาสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-10T02:56:03Z-
dc.date.available2012-03-10T02:56:03Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17623-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะศึกษาปัญหาการดำเนินงานของห้องสมุดรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคมและกระทรวงมหาดไทยในด้านต่างๆ ทั้งด้านวัตถุประสงค์ การจัดตั้ง ทรัพยากร การดำเนินงาน การบริหาร และการบริการของห้องสมุดรัฐวิสาหกิจดังกล่าว ว่าประสบการต่างๆ หรือไม่อย่างไร และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบว่าห้องสมุดของรัฐวิสาหกิจเหล่านี้ได้มาตรฐานตามที่สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยได้กำหนดไว้หรือไม่ และเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงห้องสมุดให้มีความก้าวหน้าเหมาะสมกับความต้องการของหน่วยงานและผู้ใช้มากยิ่งขึ้น วิธีดำเนินการวิจัย ได้ค้นคว้าจากสิ่งพิมพ์สิ่งต่างๆ และได้ทำการสำรวจโดยการจัดส่งแบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลจากบรรณารักษ์และผู้ใช้ห้องสมุดของรัฐวิสาหกิจ 8 แห่ง คือ ห้องสมุดการเคหะแห่งชาติ ห้องสมุดการท่าเรือแห่งประเทศไทย ห้องสมุดการไฟฟ้านครหลวง ห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ห้องสมุดสำนักงานศูนย์การฝึกการรถไฟแห่งประเทศไทย ห้องสมุดสื่อสารแห่งประเทศไทย ห้องสมุดศูนย์ฝึกโทรคมนาคม องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และห้องสมุดสโมสรองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ ผลการวิจัยพบว่า ห้องสุดส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการทางวิชาการตรงตามมาตรฐาน ยกเว้นห้องสมุดสโมสรองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อให้บริการทางด้านการบันเทิง ห้องสมุดส่วนใหญ่มีหนังสือและวารสารจำนวนได้มาตรฐาน แต่มีปัญหาเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ทางวิชาการมีน้อย ยกเว้นห้องสมุดศูนย์ฝึกโทรคมนาคม องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซึ่งมีหนังสือจำนวนมากและตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ห้องสมุดส่วนใหญ่จัดหมวดหมู่หนังสือตามระบบสากล ยกเว้นห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และส่วนใหญ่จัดทำบัตรรายการ ยกเว้นห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและห้องสมุดสโมสรองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ แต่ยังไรก็ตามผู้ใช้ก็ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบัตรรายการเท่าที่ควร เพราะผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะหาหนังสือโดยการดูตามชั้นหนังสือ ในด้านบุคลากรปรากฏว่าส่วนใหญ่มีจำนวนบุคลากรที่มีวุฒิตรงตามมาตรฐาน ยกเว้นห้องสมุดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และห้องสมุดส่วนใหญ่มีปัญหาเสมียนไม่เพียงพอ สำหรับอาคารสถานที่พบว่า ห้องสมุดเกือบทุกแห่งมีพื้นที่น้อยกว่ามาตรฐาน ยกเว้นห้องสมุดสำนักงานศูนย์การฝึก การรถไฟแห่งประเทศไทยและห้องสมุดศูนย์ฝึกโทรคมนาคม องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ห้องสมุดส่วนใหญ่มีปัญหาเกี่ยวกับชั้นหนังสือมีไม่เพียงพอ ในด้านการบริการปรากฏว่าห้องสมุดส่วนใหญ่ยังมีบริการไม่ครบตามมาตรฐาน บริการที่ห้องสมุดส่วนใหญ่จัดทำได้แก่ บริการจ่ายรับ บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า และบริการดรรชนีวารสาร บริการที่ผู้ใช้ต้องการมากก็คือ การจัดรายชื่อหนังสือใหม่ การวิจารณ์หนังสือ และคู่มือการใช้ห้องสมุด ในด้านงบประมาณ ห้องสมุดส่วนใหญ่มีรายได้จากเงินงบประมาณประจำปีของห้องสมุดโดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้จัดทำงบประมาณ แต่มีปัญหางบประมาณไม่เพียงพอ เนื่องจากหน่วยงานไม่ค่อยมีงบประมาณให้ห้องสมุด ข้อเสนอแนะ 1. รัฐวิสาหกิจทุกแห่งควรมีห้องสมุดเพื่อใช้เป็นแหล่งค้นคว้าทางด้านวิชาการและควรเป็นหน่วยงานอิสระ ขึ้นตรงต่อผู้บังคับบัญชาสูงสุด และควรมีฐานะเทียบเท่ากองกองหนึ่งเพื่อจะได้รับงบประมาณและบุคลากร เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้ห้องสมุดสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. ห้องสมุดควรได้รับงบประมาณเพียงพอ เพื่อที่จะดำเนินการต่างๆ ได้ตามวัตถุประสงค์ 3. บุคลากรของห้องสมุดควรมีเพียงพอ และควรส่งเสริมความรู้ของบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด โดยสนับสนุนให้มีการศึกษาต่อ หรือฝึกงานตามห้องสมุดต่างๆ รวมทั้งควรมีความรู้ทางด้านสาขาวิชาเฉพาะของหน่วยงานด้วย 4. ควรจัดตั้งคณะกรรมการห้องสมุด เพื่อทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาในด้านต่างๆ 5 สถานที่ตั้งของห้องสมุดควรอยู่ศูนย์กลาง ให้ความสะดวกสบายแก่ผู้ใช้ 6. ควรมีการร่วมมือระหว่างห้องสมุด เพื่อปรับปรุงการบริการและงานเทคนิคต่างๆ และเพื่อประหยัดรายจ่าย ความร่วมมืออาจจัดทำในด้านการจัดทำสหบัตรดรรชนีวารสารและการยืมระหว่างห้องสมุด เป็นต้น 7. ควรจัดตั้งสมาคมหรือชมรมห้องสมุดเฉพาะ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการประสานงานของห้องสมุดเฉพาะรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง และห้องสมุดเฉพาะอื่นๆ 8. ในการวิจัยครั้งต่อไปควรวิจัยเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินงานของห้องสมุดรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงอื่นๆ เปรียบเทียบกันว่ามีปัญหาคล้ายคลึงหรือแตกต่างกันอย่างไร-
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this thesis is to study the Operation Problems of State Enterprise Libraries Under the Ministry of Communications and the Ministry of Interior in view of objective, establishment, resources, personnel, operation, administration and services in order to find out their problems and to compare the libraries to the Special Library Standard of Thai Library Association. Also it is hope that this thesis would lead to the improvement of these libraries. The research method used is documentary research through books, periodicals and printed materials. The survey method was used through the distribution of questionaires to librarians and users of the eight State Enterprise Libraries as follows : National Housing Authority Library, Library of Port of Thailand, Library of Metropolitan Electricity Authority, Library of Provincial Electricity Authority, Library of Railway Training Centre, Library of the Communication Authority of Thailand, Telecommunication Training Centre Library and Club Library of Transportation Organization of Thailand. Results of the research revealed that the objectives of most libraries to focus on academic services agreed with the standards except for Club Library of Express Transportation Organization of Thailand which was set up for recreational services. Resources, i.e. books and periodicals, housed in the majority of libraries were up to the standards in quantity, but academic texts and publications were still to few. Only Telecommunication Training Centre Library owned a substantial collection suitable to the users' needs. A bigger number of the libraries adopted widely recognized classification schemes except the Library of Provincial Electricity Authority. With the exception of two libraries : Library of Provincial Electricity Authority and Club Library of Express Transportation Organization of Thailand, all libraries did the cataloging. However, catalog cards were not used as much as should be due to the users' usual practice of browsing around the shelves looking for books or asked librarians for help. As for the library personnel it was found that only one, Library of Provincial Electricity Authority, had a non-professional librarian. All were in serious needs for more clerical staff. Almost all libraries owned very limited building space which was below the standards with the exception of Library of Railway Training Centre and Telecommunication Training Centre Library. Morever, common complaints were of the insufficient number of book stacks. Library services were not enough according to the standards. The usual services the libraries offered were circulation, references, and indexing. The users wanted new accession lists, book reviews and the use of library handbook. Annual budget was regulated to each library to be handled by librarians, but the budget is very small because the parent institution did not allow much for library use. Recommendations 1. A state enterprise library should be an independent unit working directly with the top administration, and should have the status of a division in order to acquire more budget and the library staff increment which will enable the library to effectively operate. 2. Adequate budget should be provided for the libraries to be able to fulfil the objectives. 3. The library staff should be professional librarians with subject specialization and are adequate in numbers. They should be encouraged to further their study or to have in-service training in the field of library science. 4. A library council should be set up in each unit to perform the responsibility of library consultants. 5. The library should be in a suitable location, library facilities should be amply provided. 6. State enterprise libraries should cooperate among them¬selves to improve their services and other technical processes, and to save expenditures. They should cooperate in the following services : union cataloging, indexing and inter-library loans. 7. A state enterprise library association should be set up as the coordinated center for all state enterprise libraries and other special libraries. 8. Further research should concerti the comparison of problems in the organization and operations of state enterprise libraries in other ministries to find out about their similarities and their differences.-
dc.format.extent446525 bytes-
dc.format.extent484690 bytes-
dc.format.extent1170006 bytes-
dc.format.extent1467084 bytes-
dc.format.extent1337070 bytes-
dc.format.extent733540 bytes-
dc.format.extent1545332 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectห้องสมุดเฉพาะen
dc.subjectรัฐวิสาหกิจen
dc.titleปัญหาการดำเนินงานห้องสมุดของรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม และกระทรวงมหาดไทยen
dc.title.alternativeOperation problems of state enterprise libraries under the Ministry of communications and the Ministry of Interioren
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Laor_Pr_front.pdf436.06 kBAdobe PDFView/Open
Laor_Pr_ch1.pdf473.33 kBAdobe PDFView/Open
Laor_Pr_ch2.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Laor_Pr_ch3.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Laor_Pr_ch4.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Laor_Pr_ch5.pdf716.35 kBAdobe PDFView/Open
Laor_Pr_back.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.