Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิลาสินี พิพิธกุล-
dc.contributor.authorกิตติ กันภัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-08-15T07:44:53Z-
dc.date.available2006-08-15T07:44:53Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1769-
dc.description.abstractการศึกษาการสื่อสารเรื่องเพศในสังคมไทยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจกับปรากฏการณ์และสภาพปัญหาการสื่อสารเรื่องเพศในสังคมไทย การทบทวนแนวคิดทฤษฎีและองค์ความรู้ ซึ่งจะนำไปสู่การนำเสนอแนวนโยบายการสื่อสารเรื่องเพศในอนาคต การวิจัยประกอบด้วยการวิเคราะห์ 3 ส่วนหลัก คือ การทบทวนและเรียบเรียงแนวคิดทฤษฎี จากเอกสารวิชาการทั้งในและต่างประเทศ การทบทวนการวิจัยเรื่องเพศในช่วงปี พ.ศ. 2540-2545 และการวิเคราะห์ปรากฏการณ์การสื่อสารบนสื่อมวลชนด้วยวิธีวาทกรรมโดยเน้นหนักที่สื่อหนังสือพิมพ์ จากการรวบรวมแนวคิดทฤษฎีพบว่า เรื่องเพศประกอบด้วยความรู้ 3 ส่วนหลัก คือ เพศสรีระ (sex) เพศสภาพ (gender) และเพศวิถี (sexuality) และเรื่องเพศเป็นการประกอบสร้างความหมายผ่านรูปแบบปฏิบัติการวาทกรรม แนวทางการศึกษาเรื่องเพศมีประวัติศาสตร์เริ่มจากการศึกษาเพศแนวสารัตถะที่เน้นการศึกษาเพศในระบบชีววิทยา หลังจากนั้นการศึกษาแนวจิตวิทยา แนวปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์แนววัฒนธรรมศึกษา และสตรีนิยมจึงเกิดขึ้นตามมา การวิจัยเรื่องเพศและการสื่อสารในประเทศไทยยังเน้นการศึกษาแนว KAP โดยมุ่งเน้นการวัดความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมของปัจเจกบุคคลที่สัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อมากกว่าการศึกษาเชิงสังคมและวัฒนธรรม ผลจากการศึกษาชี้ว่าความรู้แบ่งออกเป็น 7 ส่วนหลัก คือ เนื้อหาสื่อที่นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับเพศ การใช้สื่อแบะการสื่อสารกับเพศศึกษา การเปิดรับสื่อที่นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ สื่อและการสื่อสารกับโรคเอดส์ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และนโยบายสื่อทางเพศ การสังเคราะห์องค์ความรู้ทั้ง 7 ส่วนทำให้ได้ข้อสรุปว่าการศึกษาเพศเน้นที่การศึกษาตัวสื่อและผู้รับสารบางกลุ่ม ขาดการศึกษาเชิงกระบวนการ และการศึกษาที่ครอบคลุมทุกกลุ่มคนในสังคม การวิเคราะห์วาทกรรมทางเพศในสื่อหนังสือพิมพ์พบว่า อุดมการณ์หลักเรื่องเพศคือเพศสรีระซึ่งนำเสนอผ่านวาทกรรมกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่ วาทกรรมความรุนแรงทางเพศ วาทกรรมเพศสรีระและความงาม วาทกรรมเพศแบบดั้งเดิม ความหมายทางเพศลดรูปเหลือเพียงความหมายเพียงส่วนเสี้ยวและภาพเหมารวมสะท้อนให้เห็นสภาพปัญหาของการสื่อสารเรื่องเพศในสังคมไทยอย่างชัดเจน ผลจากการวิจัยไปสู่ข้อเสนอแนะสำคัญสำหรับรัฐ สื่อมวลชน และภาคประชาชนและภาควิชาการ คือ การปรับกลไกการสร้างความเป็นจริงผ่านวาทกรรมเรื่องเพศให้มีคุณธรรมมากขึ้นโดยเน้นให้เกิดการบูรณาการของความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศจากหลากหลายมิติ สาขาวิชา และหลากหลายกลุ่มทางสังคมen
dc.description.abstractalternativeThe study of sex and communication in Thai society is a qualitative research. It aims to understand the problematic phenomena of sex and communication including the reviewing the state of the arts as well as concepts and theories. The results suggest the policies concerning sex and communication in the future. The research comprises 3 main parts: 1) reviewing concepts and theories from national and international texts; 2) reviewing state of the arts concerning sex and communication during 1997-2002, and ; 3) the analysis of discourse on mass media, emphasizing on newspapers. The reviewing concepts and theories reveals that sex comprises of 3 main concepts: sex, gender and sexuality. It states that sex is a construction of meaning through discursive practice. Sexology has its root in Essentialism which emphasizes on biological sex and later on it is extended to Psychology. Symbolic interactionism, Cultural studies and Ferminism. It can be said that sexology contains of various concepts and theories. The reviewing of state of the arts finds that KAP largely remains the prime approach of research which focuses on individual's attitude and behaviour related to media exposure rather than social and cultural perspectives. The concepts of sex can be divided into 7 parts including sex issues in media content, media use communication on sex education, media selection and exposure on sex issues, media and communication on AIDS, risk behaviour on sex, communication policy on sex, and social networking. The conclusion of the review shows that research on sex and communication emphasizes on medium (the media) and some groups of audiences while the media process and all social groups are insufficiency covered.en
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยen
dc.format.extent58204487 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.res.2003.12-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectสื่อมวลชนen
dc.subjectเพศในสื่อมวลชน--ไทยen
dc.titleโครงการ เพศและการสื่อสารในสังคมไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en
dc.title.alternativeเพศและการสื่อสารในสังคมไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.res.2003.12-
Appears in Collections:Comm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilasinee_sexandcom.pdf56.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.