Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์-
dc.contributor.authorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการประชาสัมพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการประชาสัมพันธ์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-08-15T08:08:11Z-
dc.date.available2006-08-15T08:08:11Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1772-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง "ทัศนคติของสตรีผู้นำระดับท้องถิ่นต่อการอนุรักษณ์ทรัพยากรป่าไม้" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับข่าวสาร ทัศนคติ ความรู้ และการมีส่วนร่วมในการชักจูงใจประชาชนในชุมชน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของสตรีผู้นำระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพื่อศึกษาปัญหาของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมในการชักจูงใจให้ประชาชนอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากสตรีผู้นำท้องถิ่นในเขตป่าไม้ภาคเหนือ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี และกำแพงเพชร จำนวน 153 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ผลการวิจัยมีโดยสรุปดังนี้ 1. ผู้นำสตรีส่วนใหญ่รับข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา อยู่ในระดับค่อนข้างน้อย สื่อที่รับข่าวสารมากที่สุด คือ โทรทัศน์ วิทยุ และการปะชุมอบรม ส่วนการเผยแพร่ข่าวสารด้านนี้มีค่อนข้างน้อยเช่นเดียวกัน 2. ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมของนำสตรีระดับท้องถิ่นในการชักจูงประชาชนให้อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ อยู่ในระดับปานกลาง และไม่มีความสัมพันธ์กันระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมของผู้นำสตรีท้องถิ่นในการชักจูงใจประชาชนให้อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 3. ปัญหาที่สำคัญที่สุดของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คือ ประชาชนขาดความร่วมมือในการอนุรักษ์ เพราะขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความจำเป็นในการอนุรักษ์ฯ เพราะยังมีปัญหาปากท้องซึ่งสำคัญกว่า ยังไม่สามารถแก้ไขได้en
dc.description.abstractalternativeThis survey research is aimed to study :- 1. the media exposure, attitudes, the participation of local women leaders in persuading their community to conserve the forest resource; 2. the conservation problems and obstacles; 3. the relationship between knowledge, attitudes and the local women leaders' participation in persuading their communities to conserve the forest resource. The research methodology to be used in this research is a survey. By using a questionnaire to collect data, a purposive sampling of 153 local women leaders in the northern forest areas : Nakornsawan, Uthaithani and Kampaengpetch, were interviewed. The populations were teachers, village leaders, district leaders, assistants to village leaders, village physicians and members of community organizations, e.g. house wife club,and village committee. The findings of the study are as follows :- 1. During the first six months period of conducting this research, most local women leaders received minimal message on forest conservation. The media which they exposed most and were able to get the message were from television, radio, and some training or seminars on forest conservation organized by some NGO's and some governmental organizations. At the same time, the dissemination of information on forest conservation was rather low; 2. The knowledge, the attitudes and the participation of local women leaders in persuading their communities were moderate. There were no relationships between attitudes, knowledge, and participation of the local women leaders in persuading their communities to conserve the forests; 3. Due to their basic needs, lack of knowledge, of correct understanding and of awareness of the needs and the importance of forest conservation, bring to the lack of community cooperation which is the most important and serious problem of forest conservation.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน 2536en
dc.format.extent66847174 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้นำชุมชน--ไทยen
dc.subjectสตรี--ไทยen
dc.subjectการอนุรักษ์ป่าไม้en
dc.titleการสำรวจทัศนคติของสตรีผู้นำในระดับท้องถิ่น ต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeทัศนคติของสตรีผู้นำในระดับท้องถิ่น ต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeThe attitudes of local women leaders towards the forest conservationen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Comm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jitraporn_localwomenleaders.pdf11.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.