Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18222
Title: | การจัดบริการล่วงเวลาในห้องสมุดมหาวิทยาลัย |
Other Titles: | Managing overtime service in university libraries |
Authors: | สุบิน ไชยยะ |
Advisors: | พิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์ อรนุช เศวตรัตนเสถียร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected], [email protected] [email protected] |
Subjects: | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- การบริหาร Academic libraries -- Administration |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดบริการล่วงเวลาในห้องสมุดมหาวิทยาลัย ในด้านวัตถุประสงค์ การจัดการ และการให้บริการ รวมถึงปัญหาในการจัดบริการล่วงเวลาใน ห้องสมุดมหาวิทยาลัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากหัวหน้าห้องสมุดหรือบรรณารักษ์ผู้รับผิดชอบการจัดบริการล่วงเวลาในห้องสมุด มหาวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 113 แห่ง ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาจำนวน 95 ชุด (ร้อยละ 84.07) ผลการวิจัยพบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจำนวนมากที่สุดจัดบริการล่วงเวลาเพื่อส่งเสริม การใช้ทรัพยากรสารนิเทศสำหรับการค้นคว้าและการวิจัยในห้องสมุด โดยห้องสมุดมหาวิทยาลัย ส่วนใหญ่ให้บริการทุกบริเวณของห้องสมุด และให้บริการยืม-คืนทรัพยากรสารนิเทศ สำหรับ ปัญหาการจัดบริการล่วงเวลา พบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยประสบปัญหาในด้านการจัดการและ ด้านการให้บริการในระดับปานกลางและระดับน้อยเหมือนกัน โดยปัญหาด้านการจัดการที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้ใช้บริการมีจำนวนน้อย ไม่คุ้มกับค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ และปัญหาด้าน การให้บริการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ห้องสมุดไม่สามารถจัดบริการได้ทุกบริเวณพื้นที่ของห้องสมุด |
Other Abstract: | The objectives of this research were 1) to study overtime service management in university libraries, in terms of, objectives, management, and service; and 2) to investigate problems in managing overtime service in university libraries. This study was a survey research in which data was collected from questionnaires distributed to 113 university library directors or librarians responsible for managing overtime service. There were 95 questionnaires returned (84.07%). The results from the study indicate that most university libraries have managed overtime service in order to reinforce the usage of information resources for education and research in the libraries. To operate the service, the majority of libraries have allocated every service area of their libraries and provided circulation service. Regarding the problems relevant to managing overtime service, the university libraries have similarly encountered the problem of management and problem of service at moderate and minimum levels. The problem of management receiving the highest mean score is that there are small number users, so it is not cost-effective to manage the service; and the problem of service receiving the highest mean score is that the university libraries cannot provide the overtime service in every area of their libraries. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18222 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1262 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2009.1262 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
subin_ch.pdf | 4.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.