Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1828
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนิดา ดามาพงศ์ | - |
dc.contributor.author | ภาณุมาศ ไกรสัย, 2500- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-16T05:53:31Z | - |
dc.date.available | 2006-08-16T05:53:31Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741709862 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1828 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยคุณภาพเชิงอนาคตนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาโครงสร้าง ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดโครงสร้างองค์การและองค์ประกอบในการจัดองค์การขององค์การพยาบาลโรงพยาบาลทั่วไปในกำกับของรัฐ ผู้เชี่ยวชาญที่ให้ข้อมูล เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านนโยบายปฏิรูปและการบริหารสาธารณสุข นักวิชาการทางการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 13 คน ได้จากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ วิเคราะห์เนื้อหา จัดหมวดหมู่ เชื่อมโยง อธิบายและยืนยันผลสรุป การจัดองค์การพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไปในกำกับของรัฐ ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่กำหนดโครงสร้างองค์การของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลทั่วไปในกำกับของรัฐ ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในองค์การ สภาพแวดล้อมภายนอกได้แก่ กฎหมายปฏิรูประบบสุขภาพ นโยบายทางการเมืองของรัฐบาล ระบบงบประมาณเหมาจ่าย ผู้ใช้บริการ เทคโนโลยี ขนาดของโรงพยาบาล ระบบบริหาร และระบบบริการ สภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ ทรัพยากรบุคคล และ วัฒนธรรมองค์กร 2. องค์ประกอบในการจัดองค์การพยาบาล การจัดองค์การควรจัดตามความเชี่ยวชาญเฉพาะงานเพื่อให้การบริการมีคุณภาพ การจัดแผนกงานมี 2 ลักษณะคือ จัดแผนกงานตามหน้าที่หรือลักษณะงานและจัดแผนกงานตามความต้องการของผู้ใช้บริการ สายการบังคับบัญชาสั้น เป็นแนวราบ ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ ขนาดของการควบคุมจะกว้างขึ้นโดยควบคุมทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน มีการกระจายอำนาจในการตัดสินใจ มีการตัดสินโดยทีมงานหรือ คณะกรรมการ มีการกำหนดมาตรฐานงาน กฎเกณฑ์ต่างๆ และมีวิธีการติดต่อสื่อสารขององค์การที่มีประสิทธิภาพ 3. กลุ่มการพยาบาล ควรยังคงเป็นองค์กรที่ปรากฎอยู่ในแผนภูมิโครงสร้างของ โรงพยาบาลทั่วไปในกำกับของรัฐ โดยมีพยาบาลวิชาชีพเป็นผู้บริหาร โครงสร้างขององค์การพยาบาลจะเป็นแบบแมทริกซ์เพื่อให้สามารถบริหารงานการพยาบาลทั่วไป การพยาบาลเชี่ยวชาญเฉพาะทาง การพยาบาลในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this ethnographic future research were to study the structure, factors effecting the structure and elements of the nursing organization, autonomous general hospitals. Thirteen experts from health care reform, health care management and in nursing management, experts selected by purposive sampling. The research instrument was in-depth interview guideline. The obtained data were analyzed by content analysis, categorized, described and verified the organizing of nursing organization, autonomous general hospitals. The research results were as follows : 1. Factors effecting the structure of nursing organization, autonomous general hospitals, consisted of external and internal environment. The external environment were national health reform law, political policy, block grant budget system, consumer needs, technology, hospital size, administration system and service system. The internal environment were human resources and organizational culture. 2. The components of nursing organization should designed by specialization for the quality of nursing services. There should be 2 types of departmentalization, which were functional and according to customers needs. Line of organization must be short, flat, flexible and change regarding to situations. Span of control should be wider and covered both in hospital and in the community. Decentralized decision making should be made by team or committee. Work standard, regulations and effective communication should be initiated. 3.The nursing organization still be existed as one of the department of the autonomous general hospital structure. Head of nursing department must be professional nurse. The structure of nursing organization would be matrix form for effectively mangement in general nursing, specialized nursing and community nursing practice. | en |
dc.format.extent | 3849981 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โรงพยาบาล -- การบริหาร | en |
dc.subject | การจัดการองค์การ | en |
dc.title | การจัดองค์การพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไปในกำกับของรัฐ | en |
dc.title.alternative | Organizing the nursing organization, autonomous general hospitals | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | การบริหารการพยาบาล | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panumad.pdf | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.