Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา เอี่ยมอรพรรณ-
dc.contributor.advisorศันสนีย์ เณรเทียน-
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ อุ้ยปาอาจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-25T10:38:54Z-
dc.date.available2012-03-25T10:38:54Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18691-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 50 2) เปรียบเทียบความสามารถ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ และกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ 3) ศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์และกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอนแบบปกติก่อนเรียนและหลังเรียน ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุพรรณบุรี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอู่ทอง จำนวน 109 คน เป็นนักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 55 คน และนักเรียนกลุ่ม ควบคุม จำนวน 54 คน โดยนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และนักเรียนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์และแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดกิจกรรมการเรียน การสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ มีค่าความ เที่ยงเท่ากับ 0.77 และแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่ามัชฌิมเลขคณิต ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ คือร้อยละ 50 ที่กำหนดโดยกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were 1) to study mathematics problem solving ability of eighth grade students being organized mathematics activities by using cognitively guided instruction approach, 2) to compare mathematics problem solving abilities of eighth grade students between group being organized mathematics activities by using cognitively guided instruction approach and by conventional method, 3) to study attitudes towards mathematics of eighth grade students before and after learning by using cognitively guided instruction approach and conventional method. The population of this research were eighth grade students in Suphanburi Education Service Area Office 2, Office of The Basic Education Commission, Ministry of Education. The subjects were 109 eighth grade students in academic year 2008 in U-Thong School. They were divided into two groups, one experimental group with 55 students and one controlled group with 54 students. Students in experimental group were organized mathematics activities by using cognitively guided instruction approach and those in control group were organized mathematics activities by using conventional method. The experimental instruments were lesson plans using cognitively guided instruction approach and lesson plans using conventional method. The research instrument were mathematics problem solving test with reliability of 0.77 and the attitude toward mathematics test with reliability of 0.93. The data were analyzed by arithmetic mean, mean of percentage, standard deviation, and t-test. The results of the study revealed that: 1) Mathematics problem solving ability of eighth grade students being organized mathematics activities by using cognitively guided instruction approach were higher than minimum criteria of 50 percent. 2) Mathematics problem solving ability of eighth grade students being organized mathematics activities by using cognitively guided instruction approach were higher than those being organized mathematics activities by conventional method at significance level of .05. 3) Attitudes towards mathematics of eighth grade students before and after learning by using cognitively guided instruction approach were not different at significance level of .05en
dc.format.extent64033799 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.720-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอนen
dc.subjectการแก้ปัญหาen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน ( มัธยมศึกษา)en
dc.titleผลของการใช้แนวการสอนแนะให้รู้คิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2en
dc.title.alternativeEffects of using cognitively guided instruction approach in organizing mathematics learning activities on mathematics problem solving ability and attitudes towards mathematics of eighth grade studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.720-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chaiwat_au.pdf62.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.