Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19031
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธำรง เปรมปรีดิ์ | - |
dc.contributor.author | มนตรี จัตุฑะศรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | สุโขทัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-04-06T11:34:36Z | - |
dc.date.available | 2012-04-06T11:34:36Z | - |
dc.date.issued | 2522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19031 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522 | en |
dc.description.abstract | สุโขทัยเก่าเป็นเมืองหลวงเก่าที่สำคัญเมืองหนึ่งของประเทศไทยในสมัยเมื่อ 7 ศตวรรษที่ผ่านมา พื้นที่ภายในตัวเมืองส่วนใหญ่มีโบราณสถานซึ่งถูกรักษาเอาไว้ให้อยู่ในสภาพที่ดี ตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก รัฐบาลไทยได้มีนโยบายที่จะบูรณะเมืองเก่าแห่งนี้ให้เป็นอุทยานประวัติศาสตร์แห่งชาติ แต่อุทกภัยที่อาจเกิดขึ้นในสุโขทัยเก่านี้เป็นเหตุการณ์ธรรมชาติที่สำคัญอันอาจจะก่อให้เกิดการเสียหายแก่โบราณสถานของชาติได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีระบบการป้องกันน้ำท่วมที่ดีเพื่อแก้ไขปัญหาอันนี้ จากการศึกษาและวิเคราะห์มาแล้วพบว่าปริมาณที่จะไหลบ่ามาท่วมภายในบริเวณสุโขทัยเก่าส่วนใหญ่เป็นน้ำหลากผิวดิน ซึ่งเกิดจากการที่มีฝนตกหนักเหนือบริเวณที่ลาดเชิงเขาของเทือกเขาทางด้านทิศตะวันตกของเมืองและภายในตัวเมืองสุโขทัยเก่าเอง เนื่องจากมิได้เคยมีการศึกษาทางด้านอุทกวิทยาของบริเวณสุโขทัยเก่ามาก่อนเลย ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะคาดคะเนน้ำหลากที่อาจเกิดขึ้นจากพายุฝนที่อาจเกิดขึ้น โดยใช้วิธีของรูปหน่วยไฮโดรกราฟฉับพลันแล้วแปลงค่ามาเป็นรูปไฮโดรกราฟน้ำหลากที่อาจเกิดขึ้น เพื่อใช้ในการออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วม ระบบป้องกันน้ำท่วมที่สุโขทัยเก่าตามการวิจัยนี้ ใช้วิธีการกักเก็บและระบายน้ำออกสู่คลองธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัวเมืองมากที่สุด เนื่องจากภายในตัวเมืองมีโบราณวัตถุกระจายอยู่ทั่วไป การขุดคลองและแหล่งเก็บน้ำที่สุโขทัยเก่าส่วนใหญ่จึงเป็นการขุดลอกของเดิมซึ่งตื้นเขินแล้วให้มีประสิทธิภาพในการกักเก็บน้ำเพิ่มขึ้นเท่านั้น เพราะถ้าหากทำการขุดที่บริเวณอื่นอาจจะทำความเสียหายแก่โบราณวัตถุได้ การระบายน้ำออกจากบริเวณเมืองเพื่อป้องกันน้ำท่วมนั้น ได้จัดให้น้ำที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถของแหล่งเก็บน้ำถูกระบายไปตามคลองระบายน้ำแล้วให้หลากล้นผ่านทางฝายน้ำล้นออกสู่คลองธรรมชาติทางทิศตะวันออกของเมือง และนอกจากนี้ยังได้สร้างคันดินโดยรอบตัวเมืองเพื่อทำหน้าที่สกัดกั้นน้ำหลากจากภายนอกเมืองไม่ให้ไหลบ่าเข้ามาท่วมภายในบริเวณตัวเมืองอีกด้วย | - |
dc.description.abstractalternative | The old city of Sukhothai is one of the most important former capital city of Thailand dating back to more than seven centuries ago. The area is richly densed with archaeological sites which are preserved in good condition. The government of Thailand is planning to further restore it to a national historical park. However, flood which might occur at the old Sukhothai city is a natural harzard that may cause the damage to the archaeological remnants. Therefore a good flood protection system is required. Past hydrological study of storm runoff resulting from rainfall showed that the floodwater came from the mountainous area of the west of the city of Sukhothai and from the inner parts of the old Sukhothai city. Since, the direct runoff at the old city has not been measured before, the surface runoff is predicted from the probable maximum precipitation using the method of instantaneous unit hydrograph and converting it to the probable maximum flood hydrograph.Flood protection system capable of protecting city against the 100 years flood selected in this study employed the method of providing flood storage and draining the excess storm runoff to the nearby watercourses. The improvement of the old drainage canals and storage basins such as ancient ponds within the city limit to increase the efficiency of storing floodwater is required. Since, within the old city, the area is richly densed with the archaeological site and if the canals and storage basins are to be reconstructed outside the city limit, the floodwater within the area may damage the ruins. The excess storm water is the drained through the channelling spillways provided to the water channel outside the city. Perimeter bund is called for to keep away the floodwater from outside the city. | - |
dc.format.extent | 520088 bytes | - |
dc.format.extent | 476159 bytes | - |
dc.format.extent | 623726 bytes | - |
dc.format.extent | 445816 bytes | - |
dc.format.extent | 663312 bytes | - |
dc.format.extent | 505420 bytes | - |
dc.format.extent | 428594 bytes | - |
dc.format.extent | 392280 bytes | - |
dc.format.extent | 1035990 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การระบายน้ำ | en |
dc.subject | สุโขทัย -- อุทกภัย -- การป้องกัน | en |
dc.title | การป้องกันน้ำท่วมและการจัดระบบคลองระบายน้ำ ภายในบริเวณเมืองเก่าสุโขทัย | en |
dc.title.alternative | Flood protection and drainage system of the old Sukhothai city | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Montree_Ch_front.pdf | 507.9 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch1.pdf | 465 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch2.pdf | 609.11 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch3.pdf | 435.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch4.pdf | 647.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch5.pdf | 493.57 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch6.pdf | 418.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_ch7.pdf | 383.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Montree_Ch_back.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.