Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/212
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สดศรี ไทยทอง | - |
dc.contributor.author | ธาดา สืบหลินวงศ์ | - |
dc.contributor.author | จุฑาพันธุ์ พิณสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาชีววิทยา | - |
dc.contributor.other | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.date.accessioned | 2006-05-30T08:51:49Z | - |
dc.date.available | 2006-05-30T08:51:49Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/212 | - |
dc.description.abstract | โปรตีนในแต่ละเซลล์จะถูกสังเคราะห์ขึ้นอย่างรัดกุม มีการควบคุมในระดับยีน จึงมีคุณสมบัติเฉพาะตัวสำหรับแต่ละเซลล์หรือแต่ละชนิดของสัตว์และพืช ดังนั้น การศึกษารูปแบบของโปรตีนซึ่งถือเป็น gene product จึงอาจใช้เป็น marker ของเซลล์หรือสัตว์แต่ละชนิดได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อนำรูปแบบโปรตันซึ่งศึกษาโดยเทคนิค 2-D electrophoresis มาเป็น marker ของแต่ละสายพันธุ์บริสุทธิ์ของ P.falciparum โดยได้ศึกษารูปแบบโปรตีนของเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อ P.falciparum ในตัวอย่างที่เป็น isolate และสายพันธุ์บริสุทธิ์รวม 70 ตัวอย่าง และศึกษาโปรตีนใน P. falciparum โดยใช้ [superscript 3 5]S-methionine incorporation, 2-D electrophoresis และ autoradiography และ autoradiography นั้น ไวกว่าการย้อมด้วย Coomassie blue R โดยแยกโปรตีนของ P. falciparum ออกเป็น 14 กลุ่มและแต่ละกลุ่มยังแยกย่อย ๆออกไปอีก 1-7 ชนิดย่อย และพบว่า รูปแบบโปรตีนใน P. falciparum ซึ่งเลี้ยงในห้องปฏิบัติการเป็นเวลานานกว่า 3 ปี ยังคงที่ จึงสรุปว่าความแตกต่างในรูปแบบโปรตีนของ P. falciparum สามารถใช้เป็นเครื่องแสดงลักษณะเฉพาะประจำตัวปรสิตได้ | en |
dc.description.abstractalternative | Cellular protein synthesis is a highly regulated process which is controlled at the gene level. Protein belonged to any specific animal or plant cell exhibits a very specific function and property and can be used as a specific biological character for a given organism. The purpose of this study is to use the protein pattern obtained by 2-D gel electrophoresis as a specific marker for each clone of P. falciparum. 70 in vitro cultured infected red blood cell samples of either isolates or clones of P. falciparum were subjected to 2-D electrophoresis another 50 samoles were [superscript 3 5] S-methionine incorporated before 2-D gel elecetrophoresis and autoradiographic analysis. The result had shown that the [superscript 3 5] S-methionine incorporation and autoradiography were more sensitive than the Coomassie blue R staining method. P. falciparum protein were classified into 14 groups, each group subdivided into 1-7 subgroups. A clone of P. falciparum which has been maintained by in vitro cultured within the laboratory for more than 3 years exhibited a constant protein pattern. It was therefore summarised that the protein pattern could certainly be used as a biological character for P. falciparum clone. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนงบประมาณโครงการวิจัยประจำปี 2528 และ 2529 จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.format.extent | 27758609 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | มาลาเรีย | en |
dc.subject | พลาสโมเดียมฟัลซิปารัม | en |
dc.subject | โปรตีน--การสังเคราะห์ | en |
dc.subject | การเคลื่อนย้ายสู่ขั้วไฟฟ้า | en |
dc.title | รูปแบบของโปรตีนใน Plasmodium falciparum โดยอิเล็คโตรฟอรีซิสสองมิติ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ | en |
dc.type | Technical Report | en |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Med - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tada(pl).pdf | 7.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.