Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2170
Title: | การสำรวจคุณภาพของโปรตีนในเห็ด : รายงานการวิจัย |
Other Titles: | The determination of protein quality of mushrooms |
Authors: | สุนันท์ พงษ์สามารถ สุรรางค์ อัศวมั่นคง นรานินทร์ มารคแมน ปิยวรรณ์ สุรินทร์รัฐ ลำดวน เศวตมาลย์ ธิติรัตน์ ปานม่วง จงดี ว่องพินัยรัตน์ พันธุ์ทวี ภักดีดินแดน ประเสริฐ วุฒิคัมภีร์ |
Email: | [email protected] [email protected] [email protected] |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี ไม่มีข้อมูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ภาควิชาเคมีเทคนิค ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | เห็ด สารอาหาร |
Issue Date: | 2529 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | จากการตรวจสอบคุณภาพของโปรตีนจากเห็ดเพาะเลี้ยงทั้งหมด 8 พันธุ์ โดยวิธีวิเคราะห์ในหนูขาว และวิธีย่อยโปรตีนภายนอกร่างกาย พบว่าเห็ดที่นำทดลองทั้งหมดมีค่าของดรรชนีต่าง ๆ ที่แสดงคุณภาพของโปรตีนดังนี้ คือ peotein efficiency ratio (PER) 1.1-1.8 (casein = 2.7), PER adjusted 1.2-1.7 (casein = 2.5), relative PER (RPER) 42-67 (casein = 100), net protein ratio (NPR) 1.9-2.4 (casein = 3.2), relative NPR (RNPR) 58-72 (casein = 100), net proteinutilization (NPU) 27-34% and biological value (BV) 40-57% พบว่าค่าของ true digestibility (TD) ที่วิเคราะห์ในหนูขาวมีค่า 53-74% เป็นค่าต่ำกว่าค่าการย่อยโปรตีน 73-77% ซึ่งเป็นค่าวิเคราะห์โดยวิธีใช้เอ็นซัยม์ย่อยโปรตีนภายนอกร่างกาย จากการทดลองใช้อาหารผสมของเห็ดหูหนูหนาดอกน้ำตาลกับเคซีอีน พบว่ามีค่าของดรรชนีต่าง ๆ ที่แสดงคุณภาพโปรตีนสูงขึ้น มีค่า PER adjusted = 2.6, RPER = 106 และ พ์ญฑ ช 89 ตามลำดับ ยกเว้นค่า NPU และ BV ซึ่งมีค่าเช่นเดียวกับเห็ดอื่น ๆ ที่นำมาวิเคราะห์ คุณภาพของโปรตีนในเห็ดเปรียบเทียบได้พวกธัญพืชและพวกถั่ว เห็ดดูเหมือนจะเหมาะสมใช้เป็นอาหารเสริมโปรตีนได้ |
Other Abstract: | Protein quality of 8 species of cultivated mushrooms was examined by rat bioassay and protein digestion (in vitro). Protein quality indices of most mushrooms tested were protein efficiency ratio (PER) 1.1-1.8 (casein = 2.7), PER adjusted 1.2-1.7 (casein=2.5), relative PER (RPER) 42-67 (casein=100). Net protein ratio (NPR) 1.9-2.4 (casein =3.2), relative NPR (RNPR) 58-72 (casein = 100), net protein utilization (NPU) 27-34% and biological value (BV) 40-57%. True Digestibility (TD) determined by rat bioassay was 53-74% which was lower than protein digestibility values of 73-77% estimated by multienzme method (in vitro). Diet mixture of mushroom Auricularia polytricha and casein showed significantly higher value of protein quality indices PER adjusted = 2.6, RPER = 106, and RNPR = 89, respectively. But NPU and BV values were compaeable to the corresponding values of other mushrooms investigated. The results indicate that protein quality of mushrooms was comparable to those of grains and legumes. Mushrooms appeared to be suitable as protein supplements. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2171 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Pharm - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sunun(Det).pdf | 12.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.