Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22159
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวนิดา จีนศาสตร์-
dc.contributor.authorสิทธิศักดิ์ ประภัสสรพิทยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2012-09-24T03:41:24Z-
dc.date.available2012-09-24T03:41:24Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22159-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในกรุงเทพมหานครทำการศึกษาโดยใช้ข้อมูลมลพิษอากาศที่ประกอบด้วย CO O₃ SO₂ NOₓ และ PM₁₀ และข้อมูลอุตุนิยมวิทยาประกอบด้วย ปริมาณฝน, อุณหภูมิ, ความ เร็วลม, ความชื้น และ ความเข้มแสง ใช้ข้อมูลระหว่างปี พ.ศ. 2540 ถึง ปี พ.ศ. 2553 ที่เก็บรวบรวมมาจากกรมควบคุมมลพิษ แล้วทำการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วยวิธี K-Means Cluster Analysis สามารถแบ่งกลุ่มข้อมูลออกได้เป็น 7 กลุ่มและทำการศึกษาบริเวณการกระจายของมลพิษอากาศพบว่า มลพิษอากาศทุกตัวที่ทำการศึกษามีการกระจายตัวเป็นบริเวณกว้างมากกว่าในอดีตอย่างชัดเจน หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ทำการศึกษา ด้วยวิธีการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน พบว่าความสัมพันธ์ระหว่าง CO กับ NOₓ มีความสัมพันธ์กันมากที่สุดในตัวแปรมลพิษอากาศ และความเร็วลมกับความชื้น มีความสัมพันธ์กันมากที่สุดในตัวแปรอุตุนิยมวิทยา ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มทั้งสองที่มีค่ามากที่สุดคือ O₃ กับ อุณหภูมิ ในการศึกษาด้วยการจำลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตของกรุงเทพมหานครด้วยโปรแกรมการสร้างแบบจำลอง SimCLIM ที่ใช้แบบจำลอง สถานการณ์ปล่อยแก๊สเรือนกระจก 3 แบบคือ A1F1, A1B และ A2 พบว่า ถ้ายังมีการใช้พลังงานต่างๆ อย่างต่อเนื่องในอัตราเท่ากับปัจจุบันทั้งปริมาณฝนและอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนแต่ถ้าลดการใช้พลังงานลงปริมาณฝนจะ เพิ่มขึ้นแต่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ช้าลงส่วนอุณหภูมิจะลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจนen
dc.description.abstractalternativeThe association between urban air pollution (CO, O₃, SO₂, NOₓ, PM₁₀) concentrations and Meteorological parameters (precipitation, temperature, wind speed, humidity, solar radiation) were studied. The monitoring data from 1997-2010 were comparatively analyzed by Pearson correlation. The relationship between CO and NOₓ and the relationships among the most valuable meteorological within the group were wind speed and humidity. K-Means Cluster Analysis of data can be divided into seven groups. All the air pollutions showed extensively distribution in 2010 higher than in 2005. Continuing form the current rate of precipitation, the temperature will rise significantly unless the energy consumptions were reduced. However, if the rate of temperature is higher then the current one, the rate of temperature rise will decrease significantly, as illustrated by SimCLIM.en
dc.format.extent3428325 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.823-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectมลพิษทางอากาศ -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกen
dc.titleผลกระทบของมลพิษอากาศในเขตเมืองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeEffects of urban air pollution on climate change in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.823-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sitthisak_Pr.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.