Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22169
Title: ระบบการวิเคราะห์อัลกอริทึมเชิงทดลองด้วยการวัดคำสั่งการทำงาน
Other Titles: Experimental analysis of algorithm system using instruction instrumentation
Authors: ธนินทร์ กระจังทอง
Advisors: สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: คอมพิวเตอร์อัลกอริทึม
จาวา (ภาษาคอมพิวเตอร์)
เว็บเซอร์วิส
Computer algorithms
Java ‪(Computer program language)‬
Web services
Issue Date: 2554
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิเคราะห์อัลกอริทึมมีวัตถุประสงค์เพื่อนับจำนวนครั้งการทำงานในแต่ละบรรทัดของรหัสต้นฉบับระหว่างการทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพเชิงเวลาการทำงานของอัลกอริทึม วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอรูปแบบบริการเพื่อการวิเคราะห์อัลกอริทึมเชิงทดลอง นำเสนอผ่านเว็บและเว็บเซอร์วิส รองรับรหัสอัลกอริทึมภาษาจาวา สามารถกำหนดรูปแบบการทดลองได้แก่ ขนาดของข้อมูลขาเข้า และลักษณะของข้อมูลขาเข้า และเก็บข้อมูลการทดลอง โดยใช้รูปแบบต้นไม้ไวยากรณ์ที่เป็นนามธรรม (AST) ในการสำรวจต้นไม้ และแทรกคำสั่งในการนับการทำงานของแต่ละบรรทัดของรหัสต้นฉบับอย่างอัตโนมัติ จากนั้นจึงแปลงรูปแบบต้นไม้กลับเป็นรหัสต้นฉบับที่พร้อมสำหรับการทดลอง โดยผลลัพธ์จะนำเสนอในรูปแบบกราฟเส้นเพื่อแสดงอัตราการเติบโตของอัลกอริทึม และฮิสโตแกรมเพื่อสะท้อนปริมาณการทำงานในแต่ละบรรทัดของรหัสต้นฉบับ วิทยานิพนธ์นี้สามารถนำไปใช้ได้กับการเรียนการสอนในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์อัลกอริทึม
Other Abstract: Analysis of algorithm objective is to count the number of times each source code instruction gets executed during the experiments to study the efficiency of the algorithm. This research presents a service for experimental analysis of algorithms presented by web application and web service support algorithms written as source codes in Java programming language. Experimental parameters can be configured such as range of input sizes and input characteristics. This is done by source-code instrumentation that parses the source code to obtain its associated abstract syntax tree (AST), traversing the tree, inserting extra counting instructions at instruction nodes and finally transforming the tree back into an instrumented source code ready for experiments. Experimental results are shown as a scatter plot of running time versus input size along with their correlation using curve fitting. In addition, an instruction-execution-count histogram is also shown adjacent to the source code for better visualization. This system is used effectively in teaching algorithm analysis courses.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22169
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.827
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.827
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tanin_kr.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.