Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2241
Title: การจำลองแบบการขุดเจาะความลาดเอียงและฐานรากของงานก่อสร้าง
Other Titles: Excavation simualtion for slope and construction foundation
Authors: สง่า ตั้งชวาล
Email: [email protected], [email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม
Subjects: ฐานราก
การขุดเจาะ
ความลาดเอียง (ปฐพีกลศาสตร์)
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การจำลองแบบการขุดเจาะที่นำเสนอสำหรับการวิจัยโครงการนี้ เป็นการวิเคราะห์หาความเป็นไปได้ของการพังทลายสำหรับมวลสารของความลาดเอียงบนพื้นผิวดิน หรือของมวลสารใต้ฐานรากระดับตื้น วิธีการสำหรับการหาเสถียรภาพจะใช้การสมดุลเชิงขีดจำกัดเป็นหลัก จากนั้นก็ใช้สูตรเชิงประสบการณ์ที่มีนักวิจัยเด่นหลายท่านได้เสนอแนะ ทั้งนี้เพื่อหาค่าตัวเลขปัจจัยความปลอดภัยสำหรับรูปแบบสำหรับการพังทลายของการขุดเจาะชนิดหนึ่งหรือเพื่อหาค่าระยะการทรุดตัวของมวลสารภายใต้ฐานรากรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ผู้วิจัยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นมาเพื่อจำลองรูปแบบของการพังทลาย เพื่อหาตัวค่าตัวเลขเชิงเสถียรภาพของงานก่อสร้าง โปรแกรมสำเร็จรูปที่เขียนนี้ใช้ภาษาเดลฟี มีการใช้งานผ่าน Windows ของเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้งานเป็นแบบที่ให้ผู้ใช้เลือกเมนูผลลัพธ์ของค่าตัวเลขเชิงเสถียรภาพหรือค่านัยสำคัญอื่นได้ระบุไว้ในตาราง บางโปรแกรมย่อยมีการเปรียบเทียบกราฟของค่าความสัมพันธ์ต่างๆ หรือแสดงรูปกราฟิกเชิงเรขาคณิตของหน้างานขุดเจาะภาคสนาม
Other Abstract: The simulation of excavation proposed in this report for this research project is to find the probability of failure occurred in the surface slope, or in the material underneath a shallow foundation. Methods for stability evaluation are based on the limit equilibrium after that the empirical formulas suggested by distinguished researchers are used. This application is to find the numerical number for factor of safety for a typical failure pattern of excavation, or to find the settlement distance of mass underneath a typical foundation. The researcher uses the written computer program for simulating the failure pattern and to find the stability number of construction site. The package program has been written by Delphi language and can be used through the Windows of computer. Its usage application is by selecting the menu. The results of stability number or other significant numerical numbers have been indicated in the listed table. Some sub-programs can compare various graphs of relationships or they can demonstrate a graphic picture of the geometrical form for the field excavation.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2241
Type: Technical Report
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sagna(exc).pdf25.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.