Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอดิศร อดิเรกถาวร-
dc.contributor.authorมงคล เตชะกำพุ-
dc.contributor.authorสาโรช งามขำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์-
dc.contributor.otherกรมปศุสัตว์-
dc.date.accessioned2006-09-19T06:19:48Z-
dc.date.available2006-09-19T06:19:48Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2625-
dc.description.abstractจุดประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบการเจาะผ่านของตัวอสุจิของพ่อสุกรสายพันธ์แลนด์เรซ 2 ตัว (A และ B) โดยนำไปปฏิสนธิกับโอโอไซต์ชนิดที่ไม่พร้อมปฏิสนธิ (การทดลองที่ 1) และชนิดพร้อมปฏิสนธิ (การทดลองที่ 2) โดยเป็นโอโอไซต์ 3 ชนิด คือชนิดสด ชนิดแช่สารละลายเกลือ และชนิดแช่แข็ง การทดลองที่ 1 เมื่อนำโอโอไซต์ที่ไม่พร้อมปฏิสนธิชนิดต่างๆ มาทำการตรวจสอบการเจาะผ่านของตัวอสุจิสุกร A พบว่าอัตราการเจาะผ่านมีค่า 59.6% (59/59), 78.1% (75/96) และ 77.8% (77/99) สำหรับโอโอไซต์สด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็ง ตามลำดับ พบว่าโอโอไซต์ชนิดสดมีอัตราการเจาะผ่านน้อยกว่าโอโอไซต์อีกสองชนิดที่เหลือ (P<0.05) และมีจำนวนอสุจิต่อโอโอไซต์ 2.79 0.42ล 2.97 0.29 และ 2.29 0.26 ตัว สำหรับโอโอไซต์สด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็งตามลำดับ ซึ่งพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) สำหรับสุกร B พบว่าอัตราการเจาะผ่านมีค่า 65.3% (62/95), 76.8% (73/95) และ 67.0๔(65/97) ตามลำดับ และมีจำนวนอสุจิต่อโอโอไซต์ 2.25 0.28, 3.63 0.42 และ 2.57 0.36 ตัว สำหรับโอโอไซต์สด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็งตามลำดับ พบว่าโอโอไซต์ชนิดแช่สารละลายเกลือจะมีอัตราการเจาะผ่าน และจำนวนอสุจิต่อโอโอไซต์สูงสุด (P<0.05) การทดลองที่ 2 ทำการเลี้ยงโอโอไซต์ในพร้อมปฏิสนธิในน้ำยาพร้อมปฏิสนธิในหลอดทดลองก่อนที่จะนำไปเก็บรักษาในสารละลายเกลือและแช่แข็ง เมื่อนำโอโอไซต์ดังกล่าวมาทำการตรวจสอบการเจาะผ่านของตัวอสุจิสุกร A พบว่าอัตราการเจาะผ่านมีค่า 85.1% (74/87)ม 86.1% (56/65) และ 89.1% (79/88) และจำนวนอสุจิต่อโอโอไซต์ 13.87 1.45, 17.69 2.61 และ 14.45 1.75 ตัว สำหรับโอโอไซต์สด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็งตามลำดับ ซึ่งพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) สำหรับสุกร B พบว่าอัตราการเจาะผ่านมีค่าน้อยที่สุดในกลุ่มโอโอไซต์สด 52.63% (50/95) เปรียบเทียบกับโอโอไซต์ที่แช่สารละลายเกลือและแช่แข็ง 67.3% (64/95) และ 67.0% (65/97) (P<0.05) และมีจำนวนอสุจิต่อโอโอไซต์ต่ำที่สุด เท่ากับ1.55 0.31, 2.80 0.35 และ 2.87 0.40 ตัว (P<0.05) ตามลำดับ จากการศึกษานี้สรุปว่าพ่อสุกรและวิธีการเก็บรักษาโอโอไซต์มีผลต่ออัตราการเจาะผ่านและจำนวนอสุจิต่อโอโอไซต์ และมีความเป็นไปได้ในการนำวิธีนี้ไปใช้ในการตรวจสอบความแตกต่างของความสามารถในการปฏิสนธิของพ่อสุกรได้en
dc.format.extent4914934 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.res.2001.4-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปฏิสนธิ (ชีววิทยา)en
dc.subjectสุกรen
dc.titleการใช้โอโอไซต์ชนิดสด แช่สารละลายเกลือ และแช่แข็งที่ยังไม่พร้อมปฏิสนธิ และพร้อมปฏิสนธิเพื่อตรวจสอบความสามารถในการปฏิสนธิของตัวอสุจิพ่อสุกรen
dc.title.alternativeUse of fresh, salted-stored and frozen immature and mature oocyte to assess boar semen fertilityen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.res.2001.4-
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Adisorn.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.