Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2650
Title: | การศึกษาจำนวนและรูปร่างโครโมโซมในปลาน้ำจืดของไทย 7 ชนิด : รายงานผลการวิจัย |
Other Titles: | A study of chromosome number and morphology in 7 species of Thai freshwater fish |
Authors: | วิวัฒน์ ชวนะนิกุล สุมิตรา วัฒโนดร วัฒนา วัฒนวิจารณ์ |
Email: | [email protected], [email protected] [email protected] |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสัตวบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาพยาธิวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาพยาธิวิทยา |
Subjects: | ปลาน้ำจืด--ไทย โครโมโซม |
Issue Date: | 2532 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ได้ทำการศึกษาคาริโอไทป์ของปลาน้ำจืดไทยรวม 7 ชนิด โดยใช้วิธีการเพาะเลี้ยงเซลล์จากลำตัวส่วนหางของปลา (cell culture of caudal trunk) และย้อมโครโมโซมด้วยสี Giemsa ด้วยวิธีการนี้ทำให้ได้เซลล์ในระยะเมตาเฟสที่มีการกระจายตัวของโครโมโซมที่ชัดเจนดี จำนวนและรูปร่างของโครโมโซมของปลาน้ำจืดไทย 7 ชนิด เป็นดังนี้ 1. ปลากระสง (Ophicepha iucius) 2n=88 ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ metacentric 1 คู่แบะแบบ acrocentric อีก 43 คู่ 2. ปลายี่สก (Labeo rohota) 2n=50 ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ metacentric/submetacentric 15 คู่ และ acrocentric อีก 10 คู่ 3. ปลาไน (cyprinus carpio) 2n=100 ประกอบด้วยโครโมโซมทั้งแบบ metacentric, submetacentric และ acrocentric ที่ไม่อาจจัดแยกแบบของโครโมโวมได้ถูกต้องแน่นอน 4. ปลาหมอไทย (Anabas testudineus) 2n=46 ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ submetacentric 4 คู่ นอกนั้นเป็น acrocentric 19 คู่ 5. ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) 2n=46 ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ submetacentric 4 คู่ นอกนั้นเป็น acrocentric 19 คู่ 5. ปลาสลิด (Trichogaster pectoralis) 2n=46 ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ acrocentric แบบเดียวกันทั้งหมด 23 คู่ 6. ปลาตะเพียนขาว (Puntius goniotus) 2N=50 ) ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ metacentric/subcentric 15 คู่ และ acrocentric 10 คู่ 7. ปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) 2n=54 ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ metacentric/submetacentric 18 คู่ และ acrocentric 9 คู่ |
Other Abstract: | Karyotypes of 7 species of Thai freshwater fish were studied by using the method of cell culture of the caudal trunk tissue and staining the chromosome with Giemsa. The metaphase spreads obtained by this method were in good quality with dispersed chromosomes. The diploid numbers and the morphology of chromosomes of these 7 specifics were as follows: 1. Blotch snakehead fish (Ophicephaius lucius) 2n=88, comprising of 1 metacentrci pair and 43 acrocentric pairs. 2. Rohu (Labeo rohita) 2n=50, comprising of 15 metacentric/submetacentric and 10 acrocentric pairs. 3. Common carp (Cyprinus carpio) 2n=100, comprising of small and different types of chromosomes which were not classified definitely. 4. Common climbing perch (Anabas testudineus) 2n=46, comprising of 4 submetacentric pairs and 19 acrocentric pairs. 5. Snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) 2n=46, all being acrocentric chromosomes. 6.Common silver barb (Puntius Gonionotus) 2n=50, comprising of 15 metacentric/submetacentric pairs and 10 acrocentricpairs. 7. Freshwater catfish (Clarias macrocephalus) 2n=54, comprising of 18 metacentric/submetacentric pairs and 9 acrocentric pairs. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2650 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Vet - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vivat(morp).pdf | 4.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.