Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2694
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต | - |
dc.contributor.author | เปรม สวนสมุทร, 2523- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-09-21T12:16:42Z | - |
dc.date.available | 2006-09-21T12:16:42Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741767676 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2694 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาอิทธิพลของผู้เสพที่มีผลต่อการดัดแปลงเนื้อหาและตัวละครในเรื่องพระอภัยมณี ที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่และนำเสนอในสื่อวัฒนธรรมประชานิยมระหว่างปี พ.ศ. 2545-2546 และศึกษาผลกระทบจากการดัดแปลงเนื้อหาและตัวละคร ที่มีผลต่อคุณค่าของวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณี ของสุนทรภู่ ผู้วิจัยได้เลือกข้อมูลเรื่องพระอภัยมณีสำนวนที่สร้างสรรค์ใหม่ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2546 จำนวน 3 สำนวน ได้แก่ สำนวนการ์ตูนภาพลายเส้นเรื่องอภัยมณีซาก้า ของบริษัทเนชั่นเอ็ดดูเทนเมนท์จำกัด สำนวนการ์ตูนภาพเคลื่อนไหวของบริษัทแฟนตาซีทาว์นจำกัด และสำนวนภาพยนตร์ลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายของบริษัทไร้ท์บิยอนจำกัด จากการศึกษาเปรียบเทียบการดัดแปลงเนื้อหาและตัวละคร ระหว่างสำนวนนิทานคำกลอนและสำนวนที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ ด้านการดัดแปลงเนื้อหาพบว่าสำนวนใหม่ทั้ง 3 สำนวน มีการดัดแปลงเนื้อหาเพื่อให้เหมาะสมกับธรรมชาติ และแนวโน้มปัจจุบันของสื่อชนิดใหม่ที่ใช้ในการถ่ายทอด ด้านตัวละครพบว่าทั้ง 3 สำนวนนั้น คงไว้แต่เฉพาะตัวละครที่เป็นหลักและมีบทบาทสำคัญในตอนที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ผู้สร้างสำนวนใหม่ได้ตีความคุณลักษณะของตัวละครใหม่ ด้วยการสร้างให้เป็นตัวละครหลายมิติส่งผลให้ตัวละครดูสมจริงมากขึ้น อนึ่งผู้เสพส่งผลสำคัญต่อการดัดแปลงดังกล่าว เนื่องด้วยการดัดแปลงดังกล่าวนั้นดัดแปลงตามแนวโน้มความนิยมของสื่อประเภทต่างๆ ในปัจจุบัน ด้านการสืบสานคุณค่าพบว่าสำวนที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ รักษาเนื้อเรื่องเฉพาะแต่โครงเรื่องเท่านั้น ด้านแนวคิดสำคัญและแก่นเรื่องได้มีการเลือกสืบสานเฉพาะบางประเด็น ที่ผู้สร้างแต่ละสำนวนเห็นว่าสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับธรรมชาติและแนวโน้มปัจจุบันของสื่อประเภทนั้นๆ ทั้งนี้ได้เสริมแนวคิดจริยธรรมคุณธรรมร่วมสมัยอื่นๆ ประกอบในเนื้อหาที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ด้วย ด้านผลกระทบที่มีต่อคุณค่าของสำนวนนิทานคำกลอนพบว่า สำนวนใหม่นี้ทำให้เห็นความเป็นสากลของสำนวนนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี และทำให้ผู้เสพที่ใฝ่รู้สนใจติดตามอ่านสำนวนนิทานคำกลอนซึ่งเป็นสำนวนดั้งเดิมต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | To study the audiences' influence on the adaptation of content and characters of the new versions of 'Phra Aphai Mani', the reproduction of the romance of Phra Aphai Mani, presented in popular culture media during 2002-2003. It also aims at studying the effect of the adaptation of content and characters to the value of the former version of 'Phra Aphai Mani'. The researcher has chosen to study 3 new versions of 'Phra Aphai Mani'; Aphai Mani Saga, drawing cartoons influenced by manga, of Nation Edutainment Company Limited, Sudsaakorn, the animation of Fantasy Town Co.Ltd. and The motion picture Phra Aphai Mani copyright by Right Beyond Co.Ltd. By analyzing the adaptation of content and characters between the former version and the new ones, it is found that in term of changing the content, the new versions are appropriately adapted to the nature as well as the trend of the new narrative styles. In transforming the characters, the new versions keep only the main characters and nurture the former characters byreinterpret its characters from different point of view, from Sunthorn Phu's view, and by cultivating them to the more round characters, consequently, more genuine. Whilst the audience affects these changes since they circulate the trend of the new narratives. As for continuing the value, with reference to content, the new versions remain only the former major plot: In term of moral, the new versions choose to collect only some moral form the former version. In doing so, the new versions have been added contemporary ethic by introducing new situation, never appeared in the former version. Both of the content and the moral are subject to change according to the nature and the trend of the new narrative styles. From modern view, post-modern theory, the new versions establish the original version as everlasting genius literature works which influence their audience to reread the original one. | en |
dc.format.extent | 4421588 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.777 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พระอภัยมณี | en |
dc.subject | ประชานิยม | en |
dc.subject | วรรณคดีไทย | en |
dc.title | ผู้เสพกับการดัดแปลงเนื้อหาและตัวละครเรื่องพระอภัยมณี ในวัฒนธรรมประชานิยมในช่วงปีพุทธศักราช 2545-2546 | en |
dc.title.alternative | Audience and the adaptation of content and characters of 'Phra Aphai Mani' in Thai popular culture during 2002-2003 | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | ภาษาไทย | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2004.777 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.