Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุล-
dc.contributor.authorกรองกาญจน์ วิวัฒน์วิศวกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-02T01:36:30Z-
dc.date.available2013-05-02T01:36:30Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30727-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการจัดสอบที่มีจำนวนผู้เข้าสอบจำนวนมากมักเกิดปัญหาการทุจริตในการสอบซึ่งทำให้ลดความน่าเชื่อถือในผลการสอบ วิธีหนึ่งที่ใช้ป้องกันการทุจริตในการสอบ คือการเพิ่มระยะห่างระหว่างโต๊ะสอบ แต่เนื่องจากมิได้มีการกำหนดระยะห่างระหว่างโต๊ะสอบที่ชัดเจนและการมีพื้นที่สอบที่ไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้เข้าสอบ เป็นเหตุให้ระยะห่างระหว่างโต๊ะสอบอาจอยู่ใกล้กันมากเกินไปจนทำให้ผู้เข้าสอบสามารถลอกข้อสอบได้ง่ายขึ้น การหาขีดจำกัดนี้อาศัยแนวคิดของ Speed and Accuracy Trade-off โดยระยะห่างระหว่างข้อสอบและระยะเวลาในการมองข้อสอบถูกกำหนดให้เป็นตัวแปรต้นหรือดัชนีความยากของงานซึ่งส่งผลต่อความผิดพลาดในการลอกข้อสอบ ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างความผิดพลาดในการลอกข้อสอบกับดัชนีความยากของงาน โดยศึกษาระยะห่างระหว่างข้อสอบที่ 1.00, 1.20, 1.40, 1.60, 1.80, 2.00 และ 2.20 เมตร และเวลาในการมองข้อสอบที่ 1, 2 และ 4 วินาที ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยระยะห่างกระดาษคำตอบและเวลาในการมองข้อสอบมีผลต่อความผิดพลาดในการลอกข้อสอบอย่างมีนัยสำคัญ และความสัมพันธ์ระหว่างความผิดพลาดในการลอกข้อสอบกับดัชนีความยากของงาน สามารถอธิบายถึงความสามารถในการลอกข้อสอบ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ประกอบการวางผังโต๊ะสอบหรือกำหนดจำนวนผู้คุมสอบต่อไป นอกจากนี้ยังเป็นการประยุกต์ใช้แนวคิด Speed and Accuracy Trade-off กับความสามารถในการรับรู้ด้วยการมองของมนุษย์ ซึ่งสามารถนำไปใช้ออกแบบสถานีงานต่างๆ โดยคำนึงถึงผู้ใช้งาน ให้มีประสิทธิภาพในการทำงานที่เพิ่มขึ้นได้en
dc.description.abstractalternativeThe examination arrangement for a large number of examinees may cause the cheating problems which decrease the confidence level of the examination result. One method to protect a cheating problem is increasing the distance between exam tables. However the distance between exam tables has been not identified and there are insufficient room space for the number of examinees may cause the distance between exam tables is too closed until the examinees can copy easily. This limitation can be studied based on the concept of Speed and Accuracy Trade-off by defining the distance between answer sheets and the copying period as the initial variables or the index of difficulties which affect the copying error. This research created a relationship between the copying error and the index of difficulties by studying the distance between exam sheets at 1.00, 1.20, 1.40, 1.60, 1.80, 2.00 and 2.20 m. and the copying period at 1, 2 and 4 seconds. The research results showed that the distance between exam sheets and the copying period had a significant effect on the copying error. Moreover, the relationship between the copying error and the index of difficulties could explain the copying capability which can be applied for the arrangement of the exam seats and the number of examiners. Furthermore, this research showed the application of Speed and Accuracy trade-off on human visual perception which can be used to design any workstations based on user capabilities in order to increase the working efficiency.en
dc.format.extent3213881 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1229-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอบen
dc.subjectการสอบ -- การออกแบบและการสร้างen
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาen
dc.subjectการทุจริต (การศึกษา)en
dc.subjectการจัดการชั้นเรียนen
dc.titleระยะห่างระหว่างโต๊ะสอบ เพื่อป้องกันการทุจริต โดยใช้ การแลกเปลี่ยนระหว่างความเร็วกับความแม่นยำen
dc.title.alternativeDistance between examination seats for preventing cheat with speed-accuracy tradeoffen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1229-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
krongkarn_wi.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.