Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32137
Title: Bioactivity evaluations and phytochemical characterizations of ethanolic extracts from selected mimosaceous plants endemic to Thailand
Other Titles: การประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพและองค์ประกอบทางพฤกษเคมีของสิ่งสกัดด้วยแอลกอฮอล์จากพืชบางชนิดในวงศ์กระถินของไทย
Authors: Salfarina Ramli
Advisors: Nijsiri Ruangrungsi
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Lead tree
Ethanol
Antibacterial agents
Mimosaceae
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
กระถิน
เอทานอล
สารต้านแบคทีเรีย
สารต้านจุลชีพ
พืชวงศ์กระถิน
Issue Date: 2010
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A total of 35 extracts from 20 species of Mimosaceae plants consisted of selected materials as pods, leaves and bark were studied. The biological activities as cytoxicity, antimicrobial, and antioxidant of the ethanolic extracts prepared by successive extraction in soxhlet apparatus were evaluated. Thirteen extracts showed cytotoxicity in the brine shrimp lethality test with the extract of Pithecellobium dulce stem bark was the most toxic (LC50=3.45µg/ml). In the paper disc diffusion method, extracts of Samanea saman leaves (zone inhibition=20.67 ± 0.55 mm) and extract of Archidendron jiringa pericarp (zone inhibition =13.35 ± 0.45 mm) showed the highest growth inhibition against E.coli and S. aureus, respectively. The antibacterial and antifungal activity of Mimosaceae ethanolic extracts were also being evaluated by broth microdilution method. Different results on antibacterial activity from broth microdilution method were obtained compared to the paper disc diffusion method. In the broth microdilution method, extract of Entada rheedii seed coat exhibited the lowest minimum inhibition concentration (MIC) against S. aureus (MIC=0.2 mg/ml) and B. subtilis (MIC=0.1 mg/ml). E. coli showed resistant to most of the extract except for the extract of Cathormion umbellatum (MIC=0.8 mg/ml) and Xylia xylocarpa leaves (MIC=0.8 mg/ml). On the antifungal activity, extract of Samanea saman leaves (MFC=0.25 mg/ml) and Albizzia lebbeck leaves (MFC=2.5 mg/ml) acted as fungicide to Saccharomyces cerevisiae and Candida albicans, respectively in the broth microdilution method. The antioxidant properties of the Mimosaceae plants ethanolic extract were evaluated from the ability to scavenge DPPH radical, scavenge nitric oxide, reducing power and metal chelating ability. The extract of Xylia xylocarpa leaves (IC₅₀ = 0.01±0.001 mg/ml), Albizzia lebbeckoides leaves (IC₅₀ = 2.81±0.15 mg/ml), Cathormion umbellatum leaves (IC₅₀ = 12.0±1.00 µg/ml) and Leucaena glauca twig (IC₅₀ = 1.365±0.034mg/ml) exhibited the highest activity in each antioxidant assays, respectively. In addition, extracts of Archidendron jiringa pericarp and Xylia xylocarpa leaves showed the highest inhibition in the in vitro tyrosinase enzyme inhibition property with L-Tyrosine and L-DOPA as substrates, respectively. The phytochemical content of the extracts were analysed by quantifying the total phenolic content and the analysis with HPLC-PDA. The extracts which showed the highest activity in the biological assays were further characterized by HPLC-ESI-MS. It was plausible that the biological activities of Mimosaceae plants ethanolic extracts were contributed by the tentatively characterized flavonoids glycoside and proanthocyanidins from the extracts.
Other Abstract: จากการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดเอทานอลจากส่วนต่างๆของพืช ได้แก่ ฝัก ใบ และเปลือกของพืช 20 ชนิดในวงศ์ Mimosaceae โดยประเมินความเป็นพิษต่อเซลล์ ฤทธิ์ต้านจุลชีพ และฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ผลการศึกษาพบว่า สารสกัดเอทานอลจำนวน 13 ชนิด แสดงความเป็นพิษต่อเซลล์ โดยทดสอบการตายของไรทะเล และพบว่าสารสกัดเอทานอลจากเปลือกต้นของมะขามเทศ มีความเป็นพิษต่อเซลล์สูงสุด โดยมีค่า LC50=3.45 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา โดยวิธี disc diffusion method พบว่า สารสกัดเอทานอลจากใบของก้ามปู และสารสกัดจากเนื้อผลของเนียง มีความสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตสูงสุดต่อเชื้อ E. coli and S. Aureus โดยมีค่า zone inhibition=20.67 ± 0.55มิลลิเมตร และ 13.35 ± 0.45 มิลลิเมตร ตามลำดับ ผลการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราโดยวิธี broth microdilution พบว่าสารสกัดจากเปลือกของสะบ้ามอญแสดงค่าต่ำสุดในการต้านเชื้อ S. aureus มีค่า MIC=0.2 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และฤทธิ์ต้านเชื้อ B. subtilis มีค่า MIC=0.1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดจากใบของระก่ำป่ามีค่า MIC=0.8 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และสารสกัดจากใบของต้นไม้แดงมีค่า MIC=0.8 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรในการยับยั้งเชื้อ E. coli ในขณะที่สารสกัดส่วนมากไม่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ E. coli. ด้วยวิธี broth microdilution เมื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย และฤทธิ์ต้านเชื้อราของพืชวงศ์ Mimosaceae พบว่ามีส่วนน้อยที่แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อรา มีเพียงสารสกัดจากใบของต้นก้ามปูและสารสกัดจากใบของจามจุรีสีทองแสดงฤทธิ์ยับยั้งสูงสุดต่อเชื้อ Saccharomyces cerevisiae และ Candida albicans โดยมีค่า MFC=0.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และ 2.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาคุณสมบัติในการต้านออกซิเดชันในสารสกัดเอทานอลของพืชในวงศ์ Mimosaceae พบว่าสารสกัดจากใบของต้นไม้แดงมีความสามารถสามารถในการจับกับอนุมูลของดีพีพีเอชสูงสุด โดยมีค่า IC50=0.01±0.001 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดจากใบของต้นข่างมีความสามารถในการจับกับไนตริกออกไซด์สูงสุด โดยมีค่า IC50=2.81±0.15 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดจากใบของต้นระกำป่ามีความสามารถในการรีดิวซ์สูงสุด โดยมีค่า IC50=12.0±1.00 µg/ml ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และสารสกัดจากกิ่งของกระถินมีความสามารถในการคีเลทโลหะสูงสุด โดยมีค่า IC50=1.365±0.034 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร นอกจากนี้สารสกัดจากเนื้อผลของลูกเหนียงและสารสกัดจากใบของต้นไม้แดงแสดงฤทธิ์สูงสุดในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสอีกด้วย การศึกษาองค์ประกอบทางพฤกษเคมีของสารสกัดดังกล่าว โดยการวิเคราะห์หาปริมาณของสารฟีโนลิคและการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค HPLC-PDA และได้นำสารสกัดที่แสดงฤทธิ์ทางชีวภาพสูงสุดมาวิเคราะห์ด้วยเทคนิค HPLC-ESI-MS ซึ่งจากผลการศึกษามีความเป็นไปได้ว่าฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดเอทานอลจากพืชวงศ์ Mimosaceae เป็นผลเนื่องมาจาก สารกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ไกลโคไซด์ และโปรแอนโทรไซยานิดินที่พบตรวจพบในสารสกัดของพืชด้วยวิธีดังกล่าวข้างต้น
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2010
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32137
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1148
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2010.1148
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
salfarina_ra.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.