Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorเพ็ญศรี สุวรรณโณชิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-22T08:30:03Z-
dc.date.available2013-07-22T08:30:03Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33304-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractศึกษา (1) เปรียบเทียบภาพลักษณ์ของบัตรเครดิตที่ดำเนินการโดยธนาคารต่างชาติและธนาคารไทยของผู้ใช้บริการ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกถือยี่ห้อบัตรเครดิตของผู้ใช้บริการ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์บัตรเครดิตกับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกถือบัตรเครดิตของผู้ใช้บริการ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครทั้งเพศชายและหญิง ที่เป็นผู้ใช้บริการบัตรเครดิตของทั้ง 6 ธนาคาร จำนวนทั้งหมด 400 คน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีการสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวโดยวิธีการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้วิธีการทางสถิติ t-test และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาพลักษณ์บัตรเครดิตที่ดำเนินการโดยธนาคารต่างชาติและธนาคารไทยของผู้ใช้บริการ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.001 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยบัตรเครดิตที่ดำเนินการโดยธนาคารไทยมีค่าเฉลี่ยของภาพลักษณ์ที่ดีกว่า บัตรเครดิตที่ดำเนินการโดยธนาคารต่างชาติ 2. ปัจจัยที่ผู้ใช้บริการใช้ในการตัดสินใจเลือกถือยี่ห้อบัตรเครดิตมากที่สุดคือ ชื่อเสียงของแบรนด์บัตรเครดิต 3. ภาพลักษณ์ของบัตรเครดิตมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกถือบัตรเครดิตของผู้ใช้บริการ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.001 โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกและเป็นความสัมพันธ์กันในระดับสูงมาก ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ สรุปได้ว่า บัตรเครดิตที่มีภาพลักษณ์ที่ดีจะส่งผลให้ผู้ใช้บริการตัดสินใจเลือกสมัครบัตรเครดิตนั้นๆen_US
dc.description.abstractalternativeTo study (1) the comparison between Thai and foreign banks’ credit card image among users, (2) factors which drive users’ decision-making on credit card usage selection, (3) the correlation between credit card image and the decision-making on users’ credit card selection. 400 credit card users were used as samples of both Thai and foreign commercial banks in Bangkok area. The research was conducted in a quantitative approach, a survey research by using questionnaires to collect the data for analysis, i.e. Percentage, Mean, Standard Deviation, t-test, and Pearson’s product moment correlation coefficient, via SPSS for Windows. The research findings are the followings: 1. Thai and foreign banks’ credit card image among users is statistically significant difference at 0.001 level according to the hypothesis. Thai banks’ credit card image is better than that of foreign banks’. 2. The most influential factor which drives the decision making on users’ credit card selection is the reputation of credit card’s brand. 3. The credit card image is positively and highly correlated with the decision-making on users’ credit card selection with the statistic significance at 0.001 level according to the hypothesis. In conclusion, positive image of credit cards has an impact on users once they have to make a decision to apply for a credit card.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1211-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การen_US
dc.subjectบัตรเครดิตen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectCorporate imageen_US
dc.subjectCredit cardsen_US
dc.subjectConsumer behavioren_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของบัตรเครดิตทีดำเนินการโดยธนาคารต่างชาติและธนาคารไทยของผู้ใช้บริการen_US
dc.title.alternativeA comparative study of foreign and Thai banks' credit image among usersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1211-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pensri_su.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.