Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorจิรวรรณ ศรีสวัสดิ์สกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-08T09:48:19Z-
dc.date.available2013-08-08T09:48:19Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34343-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพของกระบวนการทำงานในห่วงโซ่อุปทานของกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในประเทศไทย แล้วนำมาเปรียบเทียบกับกลุ่มธุรกิจเดียวกันซึ่งมีการทำ Benchmarking ไว้ในระดับสากล เพื่อให้เกิดการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการทำงานในธุรกิจปิโตรเคมีของไทยอย่างต่อเนื่อง ให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับธุรกิจปิโตรเคมีในโลก อีกทั้งเพื่อให้เป็นแนวทางให้ผู้สนใจในการประเมินประสิทธิภาพกระบวนการทำงานมีตัวเลือกในการวัดผลอีกตัวหนึ่งนอกเหนือจากการใช้ SCOR Model และ Balance Scorecard วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้ Process Classification Framework(PCF) ของ American Productivity And Quality Center เป็นเครื่องมือในการวัดประสิทธิภาพของกระบวนการทำงานในห่วงโซ่อุปทาน หลังจากได้ค่าคะแนนของกลุ่มบริษัทตัวอย่างที่ทำการประเมินแล้ว นำค่าคะแนนนั้นมาเปรียบเทียบกับค่าคะแนน Benchmarking ของบริษัทในกลุ่มธุรกิจเดียวกันในโลก เพื่อหากระบวนการที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนา และหากต้องการตัวอย่างบริษัทที่มีการปรับปรุงกระบวนการตามกรอบของ PCF แล้ว สามารถศึกษาได้จาก Best Practice ที่มีบางบริษัทในโลกทำไว้แล้ว ผลการศึกษาพบว่าค่าคะแนนรวมของกลุ่มบริษัทตัวอย่างได้ค่าคะแนนรวมมากกว่าค่า Benchmarking เล็กน้อย โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ได้มากกว่า 9 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากกลุ่มบริษัทตัวอย่างเป็นบริษัทชั้นนำ และเป็นบริษัทขนาดใหญ่ที่ประกอบธุรกิจปิโตรเคมีในประเทศไทยมีทุนจดทะเบียนกว่า10,000ล้านบาท และเป็นบริษัทที่มีการตื่นตัวในการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม อาทิ ISO, Kaizen, Innovation, KM, KPI เป็นต้น แต่หากพิจารณาแยกตามกระบวนการย่อยในระดับกิจกรรมของ PCF กลุ่มบริษัทตัวอย่างนี้ยังสามารถพัฒนาเพิ่มเติมในบางกิจกรรมได้ ซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันมากยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this thesis are to evaluate the performance in supply chain management in petrochemical industry and then benchmark with world Petrochemical industry. The result of the study will help the companies to define supply chain activities to improve operational excellence. This thesis will be useful for whoever interested in using it as a tool for performance measurement besides of SCOR Model and Balance Scorecard. This thesis uses Process Classification Framework (PCF) of American Productivity and Quality Center as methods to measure performance in supply chain management. The performance result of Thai Petrochemical industry then is compared with world benchmarking and is used to define activities to improve operational excellence for Thai Petrochemical industry. The example of other world companies which already had activities conformed with PCF can be found from best practice. The result shows that performance of Thai Petrochemical industry is 9% higher in score than world benchmark. It could be because the companies studied in this research are large manufacturers in Thailand with 10,000 million Baht registered capital and they have many activities to continuously improve their performance such as ISO, Kaizen, Innovation, KM, KPI, etc. It is recommended this studied company to improve some more activities, such as service level agreement, according to PCF to increase company competitiveness advantages.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.567-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมปิโตรเคมีen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectPetroleum chemicals industryen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีen_US
dc.title.alternativePerformance measurement in supply chain in petrochemicalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.567-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jirawan_he.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.