Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34695
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณี แกมเกตุ | - |
dc.contributor.author | ลำพูน หามฤทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-08-12T07:40:23Z | - |
dc.date.available | 2013-08-12T07:40:23Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34695 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาระดับความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระหว่างโรงเรียนเมื่อจำแนกโรงเรียนตามขนาดและสังกัด และ 3) เพื่อวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุพหุระดับของความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 1,080 คนและครู 36 คน จากโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 36 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามและแบบทดสอบความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจ ตัวแปรที่ศึกษาแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ ระดับนักเรียนและระดับโรงเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่น ด้วยโปรแกรม HLM ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียนในโรงเรียนกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับปานกลาง (mean=15.61, S.D.=1.70) 2) ค่าเฉลี่ยความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระหว่างโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ค่าเฉลี่ยความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระหว่างโรงเรียนที่อยู่สังกัดต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยโรงเรียนเอกชนมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 3) ตัวแปรอิสระระดับนักเรียน ได้แก่ ระดับผลการเรียนเฉลี่ย พฤติกรรมการอ่านของคนในครอบครัวและการสนับสนุนการอ่านของผู้ปกครองมีอิทธิพลต่อความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจ และมีความแปรผันระหว่างโรงเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (χ²= 216.33, R=6.100) 4) ตัวแปรระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลทางบวกต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความใจคือ การสนับสนุนการอ่านของครูและมีความแปรผันระหว่างโรงเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (χ²= 201.81, R=6.097) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to study the levels of Thai reading comprehension of the fourth grade students 2) to compare the average score of Thai reading comprehension between schools that discriminate by size and by sector and 3) to analyze the causal multilevel model of Thai reading comprehension of fourth grade students. The samples for this study were 1,080 students and 36 teachers from 36 schools in Bangkok. The data consisted of the variables of student level and variables of school level. The instruments used to collect the data were questionnaires and a Thai reading comprehension test. The hierarchical linear model analysis by HLM program was applied. The major results are 1) The level of Thai reading comprehension of students are in average level (Mean=15.61, S.D.=1.70) 2) Thai reading comprehension score of fourth grade students of schools that discriminate by size had no statistically significant difference, and discriminate by sector had statistically significant difference; the highest score were private schools 3) The variable of student level: GPA has a significant effect on Thai reading comprehension at level .01,and family reading behavior and parents support have a significant effect on Thai reading comprehension at level .01 (χ²= 216.33,R=6.100) 4) The variable of school level: teacher support has a significant effect on Thai reading comprehension ability at level .01 (χ²= 201.81,R=6.097) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.697 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ภาษาไทย -- การอ่าน | en_US |
dc.subject | การอ่านขั้นประถมศึกษา | en_US |
dc.subject | การวิเคราะห์พหุระดับ | en_US |
dc.subject | โมเดลพหุระดับ (สถิติ) | en_US |
dc.subject | Thai language -- Reading | en_US |
dc.subject | Reading (Elementary) | en_US |
dc.subject | Multilevel analysis | en_US |
dc.subject | Multilevel models (Statistics) | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุพหุระดับความสามารถทางการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร : การวิเคราะห์โมเดลเชิงเส้นตรงระดับลดหลั่น | en_US |
dc.title.alternative | An analysis of a multilevel causal model of Thai reading comprehension of fourth grade students in schools in Bangkok : a hierarchical linear model analysis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.697 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
lamphun_ha.pdf | 5.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.