Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์-
dc.contributor.authorปรารถนา นิมมานเทอดวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-09-16T04:32:52Z-
dc.date.available2013-09-16T04:32:52Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35919-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractความต้องการพลังงานในปัจจุบันเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี และเป้าหมายของงานวิจัยนี้คือศึกษาการนำไบโอดีเซลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทางเลือกสำหรับการขนส่งในประเทศไทย ซึ่งอาจสร้างทางออกสู่ความยั่งยืนของพลังงานในอนาคตได้ งานวิจัยนี้เปรียบเทียบภาวะของการผลิตไบโอดีเซลที่แตกต่างกันซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 7 กรณีศึกษา โดยใน 3 กรณีแรกจะเป็นข้อมูลกระบวนการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทย และ 4 กรณีหลังเป็นข้อมูลจากการจำลองกระบวนการ มีการเปรียบเทียบสารตั้งต้นสองชนิดซึ่งได้แก่ ปาล์มน้ำมัน และสบู่ดำ ซึ่งกรณีศึกษาทั้งหมดจะนำไปประเมินเอเมอร์จีซึ่งมีตัวชี้วัด ได้แก่ ส่วนที่หมุนเวียนได้ (PR) ผลได้ของเอเมอร์จี (EYR) ภาระที่สิ่งแวดล้อมได้รับ (ELR) และตัวชี้วัดความยั่งยืน (ESI) กรณีศึกษาการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยที่ให้ผลดีที่สุดคือกรณีที่ 1 ซึ่งเป็นกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน้ำมันในระบบต้นแบบ และสำหรับแบบจำลองคือกรณีที่ 7 ซึ่งเป็นแบบจำลองกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากเมทานอลที่ได้ในระบบผ่านกระบวนการทั่วไปซึ่งมีระบบผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน้ำเพิ่มเข้ามา มีตัวชี้วัดดังนี้ PR 20% (กรณีที่ 1) 26% (กรณีที่ 7) EYR 1.38 (กรณีที่ 1) 1.65 (กรณีที่ 7) ELR 3.94 (กรณีที่ 1) 2.44 (กรณีที่ 7) ESI 0.35 (กรณีที่ 1) และ 0.52 (กรณีที่ 7) ผลการประเมินเอเมอร์จีพบว่าความยั่งยืนของระบบปัจจุบันในประเทศไทยยังไม่ดีพอ เนื่องจากมีการใช้ทรัพยากรไม่หมุนเวียนเป็นปริมาณมากen_US
dc.description.abstractalternativeEnergy demand in Thailand has steadily increased over the years. The aim of this study is to investigate whether the use of biodiesel, as the alternative transportation fuels in Thailand, could provide a sustainable solution for the future energy. The study is to compare various environmental inventories from various processes. This work studied on 7 cases, the first 3 cases based on biodiesel production in Thailand and the last 4 cases were from the simulation data. Two sources of biomass feedstock, oil palm and Jatropha (JCL), have been investigated. The emergy indicators such as percent renewable (PR), emergy yield ratio (EYR), environmental loading ratio (ELR) and environmental sustainability index (ESI) were calculated. The best case of biodiesel production in Thailand is case 1 or the biodiesel production from oil palm in pilot scale and the best case of simulation process is case 7 or the simulation of biodiesel production using co-product methanol via conventional process with additional electricity and steam generator zone. Emergy indices of case 1 and 7 are shown as follows: PR, 20% (case 1), 26% (case 7); EYR, 1.38 (case 1), 1.65 (case 7); ELR, 3.94 (case 1), 2.44 (case 7); ESI, 0.35 (case 1) and 0.52 (case 7). The results show that the sustainability of present system is still insufficient since large amount of non-renewable sources have been consumed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.646-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงไบโอดีเซล -- ไทยen_US
dc.subjectความยั่งยืนen_US
dc.subjectการพัฒนาแบบยั่งยืนen_US
dc.subjectBiodiesel fuels industry -- Thailanden_US
dc.subjectSustainabilityen_US
dc.subjectSustainable developmenten_US
dc.titleการประเมินค่าเอเมอร์จีของการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยจากวัตถุดิบต่าง ๆ และแอลกอฮอล์สองชนิดen_US
dc.title.alternativeEmergy evaluation of biodiesel production in Thailand from various feedstocks and two types of alcoholen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.646-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
prathana_ni.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.