Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37780
Title: โครงการวิจัยการสังเคราะห์บิวทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: Bioproduction of butanol from lignocellulosoic biomass
Authors: อาภาณี เหลืองนฤมิตชัย
Email: [email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
Subjects: บิวทานอล -- การสังเคราะห์
ลิกโนเซลลูโลส
พลังงานชีวมวล
ของเสียทางการเกษตร -- การนำกลับมาใช้ใหม่
เชื้อเพลิงจากของเสียทางการเกษตร
เศษผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง
Butanol -- Synthesis
Lignocellulose
Biomass energy
Agricultural wastes -- Recycling
Agricultural wastes as fuel
Waste products as fuel
Issue Date: 2553
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เชื้อเพลิงชีวภาพผลิตจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นเชื้อเพลิงทางเลือก ที่มีประสิทธิผลต่อเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม เมื่อเทียบกับเชื้อเพลิงชีวภาพที่ผลิตจากแป้งหรือน้ำตาลโดยตรง ขั้นตอนการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การแปรสภาพวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นน้ำตาลที่ใช้ในกระบวนการหมักและการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากน้ำตาลที่ได้จากกระบวนการแปรสภาพวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ดังนั้นการปรับสภาพของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อจำกัดปริมาณตัวยับยั้งเฮมิเซลลูโลสและลิกนิน มีนัยสำคัญต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายเซลลูโลสของเอนไซม์ให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว จุดประสงค์หลักของงานวิจัยคือการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์โดยการปรับสภาพวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยกรดเจือจาง ดังนั้นทางงานวิจัยใช้กรดซัลฟูริกเจือจางปรับสภาพวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรก่อนการย่อยสลายเซลลูโลสของเอนไซม์หลังจากการปรับสภาพของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยใช้กรดซัลฟูริกเจือจางภายใต้ภาวะที่เหมาะสม (120 องศาเซลเซียส, 5 นาที) ให้ผลผลิตน้ำตาล 24.73 กรัมต่อลิตร หลังจากการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ให้ผลผลิตน้ำตาล 22.37 กรัมต่อลิตร สุดท้ายผลผลิตน้ำตาลทั้งหมดรวม 47.11 กรัมต่อลิตร ดังนั้นการปรับสภาพวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยกรดซัลฟูริกเจือจางสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายเซลลูโลสของเอนไซม์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว และจากการศึกษาการผลิตบิวทานอลของเชื้อ C.beijerinckii TISTR1461 พบว่าภายใต้สภาวะไร้อากาศ พบว่าได้ปริมาณอะซิโตน บิวทานอล และเอทานอลรวม 20.58 กรัมต่อลิตร
Other Abstract: Biofuels produced from lignocellulosic materials, so called second generation biofuel, showed energetic economic and environmental advantages in comparison to biofuels produced from starch or sugar. There are mainly two processes involved in the conversion routes: hydrolysis of cellulose to produce reducing sugar and fermentation of sugars to biofuels. Therefore, pretreatment of lignocellulosic materials to remove hemicelluloses and lignin can. Significantly enhance the hydrolysis of cellulose. The main goal of research is to increase the enzyme accessibility by improving digestibility of cellulose. Accordingly, dilute sulfuric acid was used to pretreat corn cobs prior to enzymatic hydrolysis. After pretreatment of corn cobs by dilute acid under the optimal condition (120°C, 5 min), the highest yield of total sugars of 24.73 g/l was obtained. After enzymatic hydrolysis, the highest yield of total sugars of 22.37 g/l was obtained and the final total sugar yield reached 47.11 g/l. It can be concluded that dilute sulfuric acid pretreatment can be successfully applied for corn cobs to achieve high yields of monomeric glucose and xylose. In addition, the butanol production by C. beijerinckii TISTR1461 was studied under anaerobic batch culture. It was found that the maximum concentration of acetone-butanol-ethanol products of 20.58 g/l was obtained.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37780
Type: Technical Report
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apanee_lu_2554.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.