Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42173
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงทอง ภวัครพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | เอนกชัย เรืองรัตนากร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2014-04-11T08:36:07Z | - |
dc.date.available | 2014-04-11T08:36:07Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42173 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่ามาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาต่อพม่าในช่วง ค.ศ. 1988-2008 สอดคล้องหรือขัดแย้งกับเป้าหมายของนโยบายต่างประเทศสหรัฐอเมริกาต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคหลังสงครามเย็นหรือไม่ อย่างไร มาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาต่อพม่าเป็นหนึ่งในแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศสหรัฐอเมริกาที่มุ่งรักษาสถานะการเป็นผู้นำในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคหลังสงครามเย็นที่ โดยมีการใช้ 3 แนวทางหลัก คือ ความมั่นคง เศรษฐกิจแบบเสรีนิยม และประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน โดยทั้งสามแนวทางต่างมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ไม่สามารถแยกขาดจากกัน ทั้งนี้ สหรัฐอเมริกาใช้มาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจต่อพม่าเพื่อยืนยันว่าตนยังคงพัวพันอยู่ในภูมิภาคนี้ และเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาในฐานะ Champion of Democracy ในเวทีโลก แต่นโยบายดังกล่าวถูกวิพากษ์ว่าเป็นการใช้หลักการประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนแบบทวิมาตรฐาน (double standard) เนื่องจากสหรัฐอเมริกาไม่มีผลประโยชน์ในพม่าสักเท่าใดนัก จึงสามารถใช้การปิดล้อมทางเศรษฐกิจเป็นระยะเวลายาวนานกับพม่าได้ จากการศึกษาพบว่า มาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาต่อพม่าไม่สามารถทำให้รัฐบาลทหารพม่ายินยอมเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยตามที่สหรัฐอเมริกาเรียกร้องได้ เนื่องจากพม่าสามารถลดแรงกดดันจากนโยบายดังกล่าว โดยการหันไปกระชับความสัมพันธ์ความสัมพันธ์กับจีน เพื่อขยายแนวร่วมทางยุทธศาสตร์และเพิ่มอำนาจต่อรองกับประชาคมโลก ซึ่งกระทบต่อเป้าหมายของสหรัฐอเมริกาในการสร้างความมั่นคงทางการทหาร เศรษฐกิจ และประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังท้าทายต่อสถานะความเป็นผู้นำของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to examine whether the U.S. governments imposition of economic sanctions upon Myanmar from 1988 to 2008 fulfilled the objective of the U.S. post-Cold War foreign policy towards Southeast Asia. The U.S. economic sanctions towards Myanmar from 1988 to 2008 was part of the U.S. foreign policy intended to maintain its hegemonic status in Southeast Asia in the post-Cold war period. Security, prosperity, democracy and human rights, which tacitly connected to each other, were three major factors dominating U.S. foreign policys decision making process. In the case of Myanmar, democracy and human rights was the major leading to the enforcement of the sanctions. Moreover, by imposing the economic sanctions upon Myanmar, the U.S. wished to elaborate that the region remained significant to the U.S. interest, as well as to promote itself as a global champion of democracy. However, the U.S. democracy and human rights policy towards Myanmar was widely criticized as discrimination and hence a double-standard. Since the U.S. economic interest in Myanmar was relatively limited, the long-term economic sanctions were thus possible. According to the study, the U.S. economic sanctions towards Myanmar failed to motivate the Myanmars military government to move forward democratic reform. Relationship with China helped eased up pressure from U.S. sanctions. China became Myanmars military ally and economic partners and thus increasing Myanmars leverage in global negotiations. Consequently, the U.S. objective of establishing security, economic power, and democracy and human rights in Southeast Asia was not fulfilled. Its hegemonic status too, was inevitably challenged. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.10 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สิทธิมนุษยชน -- พม่า | en_US |
dc.subject | นโยบายต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกา | en_US |
dc.subject | สหรัฐอเมริกา -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- พม่า | en_US |
dc.subject | จีน -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- พม่า | en_US |
dc.subject | สหรัฐอเมริกา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | en_US |
dc.subject | Human rights -- Myanmar | en_US |
dc.subject | International relations -- United States | en_US |
dc.subject | United States -- Foreign economic relations -- Myanmar | en_US |
dc.subject | United States -- International relations -- Southeast Asia | en_US |
dc.subject | China -- Foreign economic relations -- Myanmar | en_US |
dc.title | การเมืองของมาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาต่อพม่า (ค.ศ. 1988-2008) | en_US |
dc.title.alternative | The politics of U.S. economic sanctions towards Myanmar (1988-2008) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.10 | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
anekchai_ru.pdf | 9.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.