Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภวัฒน์ วิวรรธ์ภัทรกิจen_US
dc.contributor.authorสรศักดิ์ ท่าใหญ่en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:08Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:08Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42640
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมต่อการผลิตก๊าซชีวภาพจากการหมักของเสียฟาร์มสุกรกับผักตบชวา เพื่อนำไปปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพในปัจจุบัน มูลสุกรและหัวเชื้อจุลชีพตั้งต้น(ของเสียฟาร์มสุกร)จากฟาร์มสุกรในจังหวัดราชบุรี ผักตบชวาจากคลองธรรมชาติในจังหวัดราชบุรี ผสมวัตถุดิบหมัก ระหว่าง ของเสียฟาร์มสุกร : ผักตบชวา ในอัตราส่วนร้อยละ 60:40, 70:30, 80:20, 90:10 และ 100:0 โดยใช้น้ำหนักแห้งของวัตถุดิบหมักเป็นเกณฑ์ ศึกษาระดับห้องปฏิบัติการ ปริมาตรหมัก 300 มิลลิลิตรในขวด 500 มิลลิลิตร เติมวัตถุดิบครั้งเดียวแบบแบตซ์ บนโต๊ะเขย่าสาร การทดลองนี้ควบคุมน้ำหนักแห้งของวัตถุดิบหมัก มูลสุกรผสมกับผักตบชวาเท่ากับ 2 กรัม หัวเชื้อจุลชีพตั้งต้นเท่ากับ 3 กรัม ทุกอัตราส่วน ระบบการหมักแบบไร้อากาศ จากการทดลองพบว่า อัตราส่วนที่ให้ปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมสูงสุดคือ อัตราส่วนร้อยละ 60:40 จนสิ้นสุดการทดลองได้ปริมาณก๊าซชีวภาพสะสม 276.5 มิลลิลิตร และอัตราส่วนที่ให้ก๊าซชีวภาพสะสมต่ำสุดคือ อัตราส่วนร้อยละ 100:0 ได้ปริมาณก๊าซชีวภาพสะสม 17.0 มิลลิลิตร วิเคราะห์องค์ประกอบก๊าซ อัตราส่วน ที่ให้ร้อยละของก๊าซมีเทนสูงสุดจากการทดลองครั้งที่ 1 และ 2 คือ อัตราส่วนร้อยละ 60:40 เท่ากับร้อยละ 6.4 และ 7.8 ตามลำดับ จากการศึกษาพบว่าการเติมผักตบชวาในการหมักจะช่วยใช้ปริมาณและคุณภาพก๊าซชีวภาพสูงขึ้น จากผลการทดลองเมื่อเพิ่มปริมาณผักตบชวามากขึ้นจะทำให้ได้ปริมาณก๊าซชีวภาพสูงขึ้น ค่าความเป็นมลพิษของทุกอัตราส่วนหมัก มีค่าเกินค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง ยกเว้นค่าความเป็น กรด-ด่าง อยู่ในช่วงเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียแล้วen_US
dc.description.abstractalternativeThe suitable ratio between swine manure and hyacinth for biogas production was considered. From Ratchaburi Province, the swine manure and hyacinth were taken from the pig farm and natural canal, respectively. For this study, mixing ratios between swine manure with hyacinth are 0:100, 25:75, 50:50, 75:25 and 100:0, considered by dry basis. The anaerobic digesters were studied total mixing volume 300 ml in 500 ml volumetric flask on shaker. Total dry substrate is 2 g every ratio, swine manure and hyacinth. And microbial inoculum from pig farm is 3 g (dry basis). The experimental results showed the proportion of 60:40 illustrate the maximum quantity of biogas accumulated equal 276.5 ml. And the ratio of 100:0 shows the minimum cumulative biogas volume equal 17.0 ml. The analysis of the gas production, the blend of swine manure per hyacinth has the highest percentage of methane ratio is 60:40 (CH4=6.4% and 7.8%). The study found that the addition of water hyacinth in the compost helps increase the quantity and quality of biogas. Experimental results on increasing the amount of water hyacinth to make more biogas higher. The pollution of all ratios exceed the effluent standards. Except for the acid - alkaline single value in the benchmark.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.117-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectก๊าซชีวภาพ
dc.subjectการหมัก
dc.subjectกรรมวิธีการผลิต
dc.subjectBiogas
dc.subjectFermentation
dc.subjectManufacturing processes
dc.titleการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสุกรโดยการหมักร่วมกับผักตบชวาen_US
dc.title.alternativeBIOGAS PRODUCTION FROM SWINE MANURE CODIGESTION WITH HYACINTHen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและการจัดการพลังงานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.117-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5387573320.pdf7.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.