Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42720
Title: | ASSOCIATION BETWEEN HLA CLASS I, KIR GENOTYPES AND MISSING KIR LIGAND AND CLINICAL OUTCOME IN PATIENTS WITH HEMATOLOGICAL MALIGNANCIES RECEIVING HLA-IDENTICAL HSCT |
Other Titles: | การประเมินความสัมพันธ์ทางคลินิกของ HLA CLASS I, KIR GENOTYPES และ MISSING KIR LIGAND ในคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตจากผู้บริจาคพี่น้องที่มี HLA-IDENTICAL MATCHED |
Authors: | Sriprapai Khanuntong |
Advisors: | Nattiya Hirankarn Pawinee Kupatawintu |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | [email protected] No information provided |
Subjects: | Cancer -- Patients Leukemia Cell transplantation มะเร็ง -- ผู้ป่วย มะเร็งเม็ดเลือดขาว การปลูกถ่ายเซลล์ |
Issue Date: | 2013 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Killer cell immunoglobulin-like receptors (KIRs) are subpopulation of receptors on NK cells. The ligands for most KIRs are HLA class I. The lack of HLA ligand for KIR receptor known as missing KIR ligand plays a role in the elimination of malignant cells by a graft-versus leukemia (GVL) effect. The aim of this study was to analyze the impact of missing KIR ligand on clinical outcome. This study was a retrospective analysis in patients undergoing T-replete hematopoietic stem cell transplant from HLA-identical sibling donors. We investigated 66 patients, including 40 patients with AML, 12 patients with ALL and 14 patients with CML. The KIR genes and HLA ligands were typed by polymerase chain reaction-sequence specific oligonucleotide probe (PCR-SSOP). We found that as high as 58 patients (87.9%) had at least one missing KIR ligand, while only 8 patients (12.1%) had no missing KIR ligand. There was no significant association of 1 or more than 1 missing KIR ligand on the clinical outcome regarding relapse, GVHD, and survival. However, the 2 or more than 2 missing KIR ligands could improve patient outcome e.g., reducing relapse (p-value=0.035), particularly in the AML patients (p-value=0.033). Moreover, this model could influent clinical outcome by reducing acute GVHD (p-value=0.005). In AML patients, significant association could also be found with increased survival rate (p-value=0.018). In addition, a dose effect of missing KIR ligand could impact AML patients clinical outcome on relapse, aGVHD and survival. This result is important for the considering of KIR missing ligand in the donor selection along with HLA matching and the development of NK adoptive therapy for AML treatment. |
Other Abstract: | โมเลกุลรับสัญญาณชนิดเกียร์มีบทบาทสำคัญในการควบคุมการทำงานของเอนเคเซลล์ ซึ่งโมเลกุลที่จับจำเพาะกับโมเลกุลรับสัญญาณยับยั้งชนิดเกียร์ส่วนใหญ่คือโมเลกุลชนิดเอชแอลเอคลาสวัน โดยมีบทบาทสำคัญในการกำจัดเซลล์มะเร็งให้กับคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ขาดโมเลกุลเอชแอลเอไปจับกับโมเลกุลรับสัญญาณยับยั้งชนิดเกียร์บนเอนเคเซลล์ของผู้บริจาค ส่งผลให้ผลรวมของสัญญาณในเอนเคเซลล์เป็นสัญญาณกระตุ้นไปทำลายเซลล์มะเร็งได้ จากการตรวจหาโมเลกุลชนิดเอชแอลเอบนเม็ดเลือดขาวของคนไข้และโมเลกุลรับสัญญาณยับยั้งชนิดเกียร์บนเม็ดเลือดขาวของผู้บริจาค ด้วยเทคนิคพีซีอาร์เอสเอสโอพีในคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวจำนวน 66 รายที่ได้รับบริจาคเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตจากผู้บริจาคพี่น้องที่มีโมเลกุลชนิดเอชแอลเอตรงกัน ประกอบด้วยคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเอเอ็มแอล 40 ราย, ชนิดเอแอลแอล 12 ราย และ ชนิดซีเอ็มแอล 14 ราย เพื่อศึกษาย้อนหลังในคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวหลังการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตที่ขาดโมเลกุลเอชแอลเอไปจับกับโมเลกุลรับสัญญาณยับยั้งชนิดเกียร์บนเอนเคเซลล์ของผู้บริจาคที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ทางคลินิก จากการศึกษาพบว่าคนไข้ส่วนใหญ่ขาดโมเลกุลเอชแอลเออย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ไม่สามารถไปจับจำเพาะกับโมเลกุลรับสัญญาณยับยั้งชนิดเกียร์ของผู้บริจาคพี่น้องจำนวน 58 ราย (87.9%) และมีคนไข้ 8 ราย (12.1%) ที่มีโมเลกุลเอชแอลเอจับจำเพาะกับโมเลกุลรับสัญญาณยับยั้งชนิดเกียร์ของผู้บริจาคพี่น้อง หากมาพิจารณาร่วมกับผลทางคลินิก พบว่า คนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ขาดโมเลกุลเอชแอลเอตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไปจะไม่ส่งผลลัพธ์ทางคลินิก แต่ถ้าคนไข้ขาดโมเลกุลเอชแอลเอตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปจะช่วยลดการกลับมาเป็นมะเร็งซ้ำ (p-value=0.035)โดยเฉพาะคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเอเอ็มแอล (p-value=0.033) นอกจากนี้จะช่วยลดการการเกิดกราฟท์เวอร์สัสโฮสท์ดีซีสชนิดฉับพลันในคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวด้วย (p-value=0.005) หากพิจารณาตามชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาวแล้ว คนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเอเอ็มแอลจะมีชีวิตรอดมากขึ้นด้วย (p-value=0.018) ดังนั้นการขาดโมเลกุลเอชแอลเอตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปจะส่งผลดีต่อคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาว โดยลดการเกิดมะเร็งซ้ำ ลดการเกิดกราฟท์เวอร์สัสโฮสท์ดีซีสชนิดฉับพลัน และมีชีวิตรอดมากขึ้น จึงเป็นข้อพิจารณาหนึ่งในการเลือกผู้บริจาคที่เหมาะสมเพื่อช่วยเหลือคนไข้มะเร็งเม็ดเลือดขาว |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Medical Microbiology (Inter-Department) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42720 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.189 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2013.189 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5587175420.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.