Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44088
Title: | The chemistry of titanium precursors, butylchloride and cocatalyst for improvement of catalyst activity in ethylene polymerization |
Other Titles: | เคมีของสารตั้งต้นไทเทเนียม บิวทิลคลอไรด์ และ ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมสำหรับการปรับปรุงความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาในพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีน |
Authors: | Goond Hongmanee |
Advisors: | Bunjerd Jongsomjit |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | Catalysts Ziegler-Natta catalysts Polymerization Ethylene ตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาซีเกลอร์-นัตตา โพลิเมอไรเซชัน เอทิลีน |
Issue Date: | 2012 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The improvement of Ziegler-Natta catalyst activity can be achieve by adjusting the related factors. This research was aimed to investigate the effects of titanium precursors, butylchloride and cocatalyst on the ethylene polymerization activity. The amount of precursors was varied, and then polymerized at 80 0C for 2 h. The results showed that the decrease of catalytic activity was observed when the amount of titanium (IV) alkoxide was increased. Inversely, an increase of butylchloride amount resulted in an increase of catalytic activity Moreover, the effects of types and amount of cocatalyst were also investigated. The obvious increase of catalytic activity was obtained when the amount of cocatalyst was increased and the cocatalyst type was TEA. In addition, the obtained activity from butylchloride per magnesium ratio of 2.5 was similar to the usage of TEA as cocatalyst and a mole ratio per titanium of 5. The external morphology of the obtained polymers was amorphous as the catalyst morphology. However, the molecular weight and molecular weight distribution were narrower when the TEA having molar ratio per titanium of 5 was used. |
Other Abstract: | การปรับปรุงความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาซีเกลอร์-นัตตาสามารถทำได้โดยการปรับเปลี่ยนปัจจัยต่างๆ ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการศึกษาผลของสารตั้งต้นไทเทเนียม 2 ชนิด, บิวทิลคลอไรด์ และ ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีน โดยการปรับเปลี่ยนอัตราส่วนของสารเคมีที่ใช้ในการสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาและนำไปทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง จากการศึกษาพบว่า เมื่อเพิ่มปริมาณไทเทเนียมแอลคอกไซด์ ทำให้ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาลดลงตรงข้ามกับการเพิ่มปริมาณบิวทิลคลอไรด์ซึ่งส่งผลให้ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยามีค่าเพิ่มขึ้น ส่วนการทดลองเปลี่ยนชนิดและปรับปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมสามชนิด ได้แก่ TEA, TiBA และ TnOA พบว่า ค่าความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเพิ่มปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมเป็น TEA เมื่อเทียบคุณสมบัติของพอลิเอทิลีนที่ได้เมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมเป็น TEA ที่อัตราส่วนต่อตัวเร่งปฏิกิริยาเท่ากับ 5 กับเมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโดยมีอัตราส่วนระหว่างบิวทิลคลอไรด์ต่อแมกนีเซียมเท่ากับ 2.5 ซึ่งได้ค่าความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาใกล้เคียงกันพบว่า ลักษณะภายนอกของพอลิเมอร์ที่ได้มีความคล้ายคลึงกันคือ มีลักษณะเป็นอสัณฐานเช่นเดียวกับลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยา แต่ค่าน้ำหนักโมเลกุลและค่าการกระจายตัวของน้ำหนักโมเลกุลที่ได้แคบกว่า เมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมเป็น TEA ที่อัตราส่วนต่อตัวเร่งปฏิกิริยาเท่ากับ 5 |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44088 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.628 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2012.628 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Goond_ho.pdf | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.