Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี วัฒฑกโกศล-
dc.contributor.advisorอรัญญา ตุ้ยคำภีร์-
dc.contributor.authorพัฐปณิตา จันกลิ่น-
dc.contributor.authorวันวิสา พิทักษ์พินิจนันท์-
dc.contributor.authorศิวนาถ รักการงาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-24T02:43:33Z-
dc.date.available2015-07-24T02:43:33Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.otherPsy 222-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44151-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย การซึมซับจากวัฒนธรรมสังคม ความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์ กับเจตนาที่จะออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เพศหญิงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นโดยเป็นผู้หญิงวัยทำงานที่ทำงานในสำนักงานลักษณะนั่งโต๊ะจำนวน 150 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบขั้นบันได (Stepwise) ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย และการซึมซับจากวัฒนธรรมสังคม มีความสัมพันธ์กับเจตนาที่จะออกกำลังกาย (r = .44, p < .001; r = .22, p < .01 ตามลำดับ) ขณะที่ความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์กับเจตนาที่จะออกำลังกายอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .13, p > .05) และการรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย และการซึมซับจากวัฒนธรรมสังคม สามารถอธิบายความแปรปรวนของเจตนาที่จะออกกำลังกายได้ร้อยละ 24.8 (p < .001) โดยการรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกายมีน้ำหนักในการทำนายเจตนาที่จะออกกำลังกายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (β = .45) การซึมซับจากวัฒนธรรมสังคมมีน้ำหนักในการทำนายเจตนาที่จะออกกำลังกายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (β = . 24) ส่วนความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์นั้นไม่มีอิทธิพลในการทำนายเจตนาที่จะออกกำลังกายen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study relationships among Exercise self-efficacy, Sociocultural Internalization, Body image dissatisfaction, and Exercise intention Participants were 150 women. Data was analyzed by Multiple Regression Analysis (Stepwise). Research results are as follows: Exercise self-efficacy and Sociocultural internalization were significantly correlated to exercise intention (r = .44, p < .001; r = .22, p < .01). While Body image dissatisfaction was not significantly correlated to exercise intention (r = .13, p > .05). Exercise self-efficacy and sociocultural internalization together significantly predicted Exercise intention (R2 = 24.8, p < .001). Exercise self-efficacy and Sociocultural internalization had significant standardized coefficients (β = .45, p < .001; β = .24, p < .01, respectively). Body image dissatisfaction did not predict exercise intention.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรับรู้ตนเองen_US
dc.subjectภาพลักษณ์ร่างกายen_US
dc.subjectภาพลักษณ์ร่างกายในสตรีen_US
dc.subjectการออกกำลังกายen_US
dc.subjectการออกกำลังกายสำหรับสตรีen_US
dc.subjectสังคมและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectSelf-perceptionen_US
dc.subjectBody imageen_US
dc.subjectBody image in womenen_US
dc.subjectExerciseen_US
dc.subjectExercise for womenen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย การซึมซับจากวัฒนธรรมสังคมและความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์กับเจตนาที่จะออกกำลังกายen_US
dc.title.alternativeRelationships among exercise self-efficiencacy, sociocultural internationalization, body image dissatisfaction, and exercise intentionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patpanita_ch.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.