Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลยา พิสิษฐ์สังฆการ-
dc.contributor.authorกุลปริยา ศิริพานิช-
dc.contributor.authorกุลปริยา ศิริพานิช-
dc.contributor.authorธนัช มนัสวีพงศ์สกุล-
dc.contributor.authorสรวิศ รัตนชาติชูชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-24T03:07:11Z-
dc.date.available2015-07-24T03:07:11Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.otherPsy 202-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44156-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการหมกมุ่นครุ่นคิดกับความวิตกกังวล โดยมุ่งเน้นว่าความสัมพันธ์นี้เปลี่ยนแปลงไปตามระดับของสติหรือไม่ กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตระดับปริญญาตรี จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำนวน 275 คน แบ่งเป็นเพศชาย 130 คน และเพศหญิง 145 คน โดยผู้เข้าร่วมการวิจัยทำการตอบแบบประเมินสติ (α = .861) แบบประเมินภาวะวิตกกังวล (α = .884) และมาตรวัดการตอบสนองแบบหมกมุ่นครุ่นคิด (α = .904) ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1. การหมกมุ่นครุ่นคิดมีสหสัมพันธ์ทางบวกกับความวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r = .501, p < .001) 2. ความสัมพันธ์ระหว่างการหมกมุ่นครุ่นคิดและความวิตกกังวลเปลี่ยนแปลงไปตามระดับของสติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (β = -0.111, p < .05) โดยความสัมพันธ์ระหว่างการหมกมุ่นครุ่นคิดและความวิตกกังวลจะสูงกว่าในผู้ที่มีระดับของสติต่ำ (β = 0.492, p < .001) เมื่อเทียบกับผู้ที่มีระดับของสติสูง (β = 0.282, p < .01)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the moderating effect of mindfulness on the association between rumination and anxiety. Two hundred and seventy-five undergraduate students from Chulalongkorn University, 130 males and 145 females, completed measures of mindfulness (α = .861), anxiety (α = .884), and rumination (α = .904). As hypothesized, rumination has been shown to be moderately and positively associated with anxiety (r = .501, p < .001). More importantly, this association was moderated by mindfulness (β = -0.111, p <.05). A stronger positive relationship between rumination and anxiety was found among those low in mindfulness (β = 0.492, p < .001) than among those high in mindfulness (β = 0.282, p < .01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.subjectจิตen_US
dc.subjectAnxietyen_US
dc.subjectMinden_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการหมกมุ่นครุ่นคิดและความวิตกกังวลโดยมีสติเป็นตัวแปรกำกับen_US
dc.title.alternativeRelationship between rumination and anxiety : the moderating effect of mindfulnessen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kulpariya_si.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.